ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โดย
ชื่อ: นายสาทรกิจ เจริญวงศ์ ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 13
ชื่อ: นายรัชชานนท์ ดีหอมศิล ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 24
ความหมายของโครงงาน
คาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้
กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทากิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้
ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง
โครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและ
การประเมินผล
โครงงานคอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการ
ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็น
อย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้
5 ประเภท คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่อง
ต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้
แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะ
ศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
1. จะทา อะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของ
นักเรียน
ครูที่ปรึกษาร่วม
ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงาน
ของนักเรียน
ระยะเวลาดาเนินงาน
ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน
หรือ เดือนก็ได้
แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
วิธีดาเนินงาน
กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และ
ผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไป
แล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควร
เตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทา
โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น
2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม
เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มาก
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้
ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้
ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้
พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว 4.5 แนวทางการ
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้
ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน
กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
5.1 ส่วนนา
ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
5.2 บทนา
บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ใน
การพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่
ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
5.5 ผลการศึกษา
ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้
คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้
สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไป
ใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา
โครงงานนี้
5.7 ประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะ
ได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
5.8 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อ
ศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้อง
ตามหลักการเขียนด้วย
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดย
ละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อผลงาน
2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึง
ผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วย
คาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควร
ประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน

More Related Content

โครงงานคอมพิวเตอร์ 12

  • 1. โดย ชื่อ: นายสาทรกิจ เจริญวงศ์ ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 13 ชื่อ: นายรัชชานนท์ ดีหอมศิล ชั้น: ม.5/3 เลขที่: 24
  • 2. ความหมายของโครงงาน คาว่าโครงงานมีนักเรียนการศึกษาได้ให้ความหมายไว้มากมาย ดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความหมายโครงงานว่า เป็นการทากิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้าง โครงงาน การวางแผนดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและ การประเมินผล
  • 3. โครงงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการ ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็น อย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 4. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
  • 5. 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่อง ต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
  • 6. 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้ แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะ ศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า 1. จะทา อะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร
  • 7. รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการทาโครงงานของ นักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงาน ของนักเรียน ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้ แนวคิด ที่มา และความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน วิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และ ผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน 3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
  • 8. 4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไป แล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควร เตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทา โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มาก
  • 9. 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว 4.5 แนวทางการ
  • 10. 5. การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 5.1 ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 5.2 บทนา บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
  • 11. 5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ใน การพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย 5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน 5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้ คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ได้ สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนา ผลการทดลองหรือพัฒนาไป ใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญ หรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการทา โครงงานนี้
  • 12. 5.7 ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ผู้ใช้จะ ได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย 5.8 บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทา โครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อ ศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทา โครงงานนี้การเขียนเอกสารบรรณานุกรมต้องให้ถูกต้อง ตามหลักการเขียนด้วย 5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทา เป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงานนั้นโดย ละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
  • 13. 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึง ผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วย คาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควร ประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน