ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
( Photosynthesis)
โดย..ครูปินัชยา Ȩคจารูญ
กระบวนการสัง๶คราะห์ึϹวยแสง
เป็นการสร้างอาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรตของพืชเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต
และยังเป็นการผลิตอาหารสาหรับสิ่งมีชีวิตอื่นๆบนโลก
ในพืชมีคลอโรฟิลล์ที่ทาหน้าที่ดูดกลืนพลังงานแสงมาใช้ในการสร้างอาหาร
กระบวนการสัง๶คราะห์ึϹวยแสง
กระบวนการสัง๶คราะห์ึϹวยแสง
กระบวนการสัง๶คราะห์ึϹวยแสงของพืชแบ่งออกเป็น2 ขั้นตอนใหญ่
1. ปฏิกิริยาแสง(lightreaction)
2. การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(DzԻ徱dz澱ھ油پDz)
คลอโรพลาสต์
เป็นแหล่งที่เกิดปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงพบได้มากในเซลล์ของใบ
ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลมรีพบได้มากในเซลล์ของใบ
ยาว5 ไมโครเมตรกว้าง2 ไมโครเมตร หนา1-2ไมโครเมตร
โครงสร้างของคลอโรพลาสต์
มีเยื่อหุ้ม2 ชั้นภายในมีของเหลวเรียกว่า สโตรมา(Stroma)
พบไทลาคอยด์(Thylakoid)มีลักษณะคล้ายถุง มีช่องเรียกว่า ลูเมน(Lumen)
ไทลาคอยด์จะซ้อนกันเป็นชั้นเรียกว่ากรานุม(Granum)
เนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างกรานุมเรียกว่า สโตรมาลาเมลลา(StromaLamella)
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
1) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
สารสีใȨฏิกิริยาแสง
ได้แก่คลอโรฟิลล์แคโรทีนอยด์ ไฟโคบิลินและแบคเทอริโอคลอโรฟิลล์
สิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอตจะพบสารสีในคลอโรพลาสต์
ส่วนพวกโพรคาริโอตจะพบที่เยื่อหุ้มเซลล์(รายละเอียดสารสีอยู่หน้า80)
สารสีใȨฏิกิริยาแสง
คลอโรฟิลล์เอ สีเขียวเข้มดูดกลืนแสงสีม่วงน้าเงิน แดง
คลอโรฟิลล์บี สีเขียวมะกอกดูดกลืนแสงสีม่วงน้าเงิน
 แคโรทีนอยด์ มีสีส้มแดงดูดกลืนแสงสีม่วงเขียวน้าเงิน
สารสีใȨฏิกิริยาแสง
สารสีใȨฏิกิริยาแสง
สารสีใȨฏิกิริยาแสง
แอนเทนนา(Antenna)
คือกลุ่มสารสีที่อยู่บริเวณกลุ่มโปรตีนที่เยื่อไทลาคอยด์
ทาหน้าที่รับส่งพลังงานแสงตามลาดับขั้นจนถึงศูนย์กลางของปฏิกิริยา
การถ่ายทอดพลังงานเกิดจากอิเล็กตรอนถูกกระตุ้นจากพลังงานที่ได้จากแสง
ระบบแสง(Photosystem: PS)
คือกลุ่มของโปรตีน สารสี และตัวรับอิเล็กตรอนแบ่งเป็นระบบแสงI และII
ระบบแสงI มีคลอโรฟิลล์เอเป็นศูนย์กลางรับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น
ต่ากว่า700 นาโนเมตร(P700)
ระบบแสงIIมีคลอโรฟิลล์เอเป็นศูนย์กลางรับพลังงานแสงที่มีความยาวคลื่น
ต่ากว่า 680 นาโนเมตร(P680)
ปฏิกิริยาแสง(Photosystem: PS)
คือการที่พืชดูดกลืนพลังงานแสงไว้แล้วเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน(ATPและNADPH)
คือสภาวะที่ศูนย์กลางของปฏิกิริยามีพลังงานสูงขึ้นและถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้ตัวรับ
 มี2 แบบคือการถ่ายทอดอิ๶ล็กตรอȨบบไม่เป็Ȩัฏจักรกับเป็Ȩัฏจักร
ปฏิกิริยาแสง(Photosystem: PS)
การถ่ายทอดอิเล็กตรอน
โดย..ครูปินัชยา Ȩคจารูญ
1.การถ่ายทอดอิ๶ล็กตรอȨบบไม่เป็Ȩัฏจักร
เมื่อศูนย์กลางของระบบแสงII ได้รับการกระตุ้นจะถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ผ่านตัวกลางเช่นพลาสโทควิโนน ไซโทโครมคอมเพลกซ์ พลาสโตไซยานิน
ส่งต่อไปยังระบบแสง I และจะดึงอิเล็กตรอนของน้ามาแทนที่(เกิดO2)
1.การถ่ายทอดอิ๶ล็กตรอȨบบไม่เป็Ȩัฏจักร
เมื่อน้าแตกตัว ได้ออกซิเจนและโปรตอนที่ลูเมน
เพื่อจะเคลื่อนที่ไปยังสโตรมาและมีการสังเคราะห์ATPต่อไป
1.การถ่ายทอดอิ๶ล็กตรอȨบบไม่เป็Ȩัฏจักร
ศูนย์กลางของระบบแสงI ได้รับการกระตุ้นจะถ่ายทอดอิเล็กตรอน(เช่นกัน)
เฟอริดอกซิน จะส่งอิเล็กตรอนให้ NADPได้เป็นNADPH
เมื่อสูญเสียอิเล็กตรอนจะรับอิเล็กตรอนจากระบบแสงII ผ่านพลาสโทไซยานิน
กระบวนการสร้างATP
 โปรตอนใน Lumen จะเคลื่อนที่ไปยัง Stoma
มี APTSynthase เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
เรียกกระบวนการนี้ว่าPhotophosphorylation
1.การถ่ายทอดอิ๶ล็กตรอȨบบไม่เป็Ȩัฏจักร
2.การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
เป็นสภาวะที่ เฟอริดอกซิน(ระบบแสงI ) ไม่สามารถส่งอิเล็กตรอน ให้NADP
เฟอริดอกซิน จะส่งอิเล็กตรอนให้ ไซโทโครมคอมเพลกซ์(ระบบแสงII) แทน
 และส่งกลับไปยังระบบแสงI ใหม่ โดยมีการสร้างโปรตอนในสโตรมาเพื่อนาไปเป็น
พลังงานในการสร้างATPต่อไป
5.2 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
(Cabondioxide Fixation)
โดย..ครูปินัชยา Ȩคจารูญ
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(DzԻ徱dz澱ھ油پDz)
ปฎิกิริยาที่ไม่ใช้แสง(darkreaction)หรือวัฎจักรคัลวิน(Calvincycle)
ซึ่งต้องใช้สารATPและNADPHจากปฏิกิริยาแสงมาสังเคราะห์น้าตาล
เกิดขึ้นได้หลายแบบยกตัวอย่างแบบวัฎจักรคัลวินมาเรียน
แบ่งได้เป็น3 ขั้นตอนใหญ่
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(Carboxylation)
การรีดิวซ์เปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุล(Reduction)
การสร้างตัวตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ใหม่(Regeneration)
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์(Carboxylation)
CO2จะทาปฏิกิริยากับRuBP(5C)(Ribulose-1,5-bisphosphate)
มีเอนไซม์rubiscoเป็นตัวเร่ง(Ribulose-1,5-bisphosphate
carboxylaseoxygenase)
ได้สารประกอบPGA หรือฟอสโฟกลีเซอเรต(phosphoglycerate)3C
2 โมเลกุล
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
การรีดิวซ์(Reduction)
 PGAจะรับหมู่ฟอสเฟตจากATPกลายเป็น1,3บิสฟอสโฟกลีเซอเรต
รับอิเล็กตรอนจากNADPHและถูกเปลี่ยนเป็นกลีเซอรัลดีไฮด์3-ฟอสเฟต
หรือPGAL (3C)
ADPกับ ٱจะถูกนากลับไปใช้ในปฏิกิริยาแสงต่อไป
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
การสร้างตัวตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ใหม่(Regeneration)
เป็นขั้นตอนที่จะสร้างRuBPขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับCO2อีกครั้งหนึ่ง
เปลี่ยนPGAL(3C)2 โมเลกุล เป็นRuBP(5C)1C ถูกนาไปสร้างน้าตาล
ขั้นตอนนี้อาศัยพลังงานจากATPจากปฏิกิริยาแสง
แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอนใหญ่
แบ่งได้เป็น3 ขั้นตอนใหญ่
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบต่างๆ
โดย..ครูปินัชยา Ȩคจารูญ
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบC3
 ตรึงคาร์บอนไดออกไซค์จากอากาศโดยRuBPแล้วได้PGA
ได้แก่พืชทั่วๆไปขึ้นได้ดีในสภาพแวดล้อมในเขตอบอุ่นเป็นพืชกลุ่มใหญ่ที่สุด
เกิดขึ้นที่mesophyll cellsเป็นหลักได้แก่ข้าวข้าวสาลีถั่ว และพืชทั่วๆไป
การตรึงคาร์บอȨึϸอกไซึϹแบบC4
 มักเป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดในเขตศูนย์สูตรจะมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์2 ครั้ง
ครั้งแรกเกิดที่mesophyllcellมีตัวมารับCO2คือphosphoenol
pyruvate(PEP)
ได้เป็นกรดออกซาโลเอซิติก(oxaloaceticacid)(OAA): 4C
OAAถูกเปลี่ยนเป็นmalicacidก่อนจะเคลื่อนที่เข้าสู่bundlesheath
40
การตรึงคาร์บอȨึϸอกไซึϹแบบC4
 การตรึงครั้งที่2 เกิดขึ้นใน stomaของchloroplast ในbundle
sheathcells
โดยCO2ที่ถูกปล่อยจากmalicacidจะถูกตรึงโดยRuBPได้ PGAแล้ว
ปฏิกิริยาดาเนินตามcalvincycle
เช่นข้าวโพด,อ้อย,ข้าวฟ่าง,บานไม่รู้โรย,หญ้าแพรก,หญ้าแห้วหมู,ผักโขมจีน
การตรึงคาร์บอȨึϸอกไซึϹแบบC4
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ C4
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
พืชCAMเป็นพืชที่เจริญได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง
ปากใบจะปิดในเวลากลางวันและเปิดในเวลากลางคืนเพื่อลดการคายน้า
ในสภาพที่มีน้าความชื้นสูงจะตรึงCO2 แบบC3
หากสภาพแวดล้อมแห้งแล้งตรึงCO2 แบบCAM
เช่นว่านหางจระเข้กล้วยไม้กระบองเพชรสัปปะรด
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
3.1เกิดในเวลากลางคืน
- ปากใบเปิดCO2 แพร่เข้ามาที่mesophyllcell
- PEP ตรึงCO2 เกิดOAAเปลี่ยนเป็นmalicacidที่ Vacuole
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
3.2เกิดในเวลากลางวัน
- malicacid แพร่จากvacuoleเข้าสู่chloroplast
- CO2 ถูกตรึงครั้งที่ 2 โดยRuBPเข้าสู่calvincycle
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
พืชในทะเลทรายส่วนมากไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดีในช่วงกลางวัน
เพราะเอนไซม์บางชนิดถูกยับยั้งการทางานเนื่องจากอุณหภูมิสูง
และยังขาดแคลนน้าสาหรับใช้ในกระบวนการปฏิกิริยาต้องการแสง
รวมถึงปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์แพร่เข้าสู่เซลล์ได้น้อยมาก(ปากใบปิด)
ชื่อเต็มCrassulaceanacid Metabolism
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบCAM
หากเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบของพืชC3
, C4 และพืช CAM
พบว่าพืชที่มีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงสุดส่วนใหญ่เป็นพืชC4 และ
รองลงมาคือพืชC3ส่วนพืชCAMจะมีอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงน้อยที่สุด
การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แบบ CAM

More Related Content

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง