ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาน เรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวัยรุ่น จัดทำโดย นายอนุวัฒน์  พงษ์เภา เลขที่  9  ชั้น ม .5/2 เสนอ พ่อครูคเชนทร์  กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน
พิษภัยของบุหรี่กับวัยรุ่น บุหรี่  เป็นสิ่งเสพติดอย่างอ่อนที่ถูกต้องตามกฎของประเทศ ซึ่งทำรายได้แก่ผู้ผลิตและรัฐบาลจำนวนมาก แต่บุหรี่ถือว่าเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดโรคร้ายแรงหลายอย่างของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบหมุนเวียนโลหิต พิษของบุหรี่เป็นฤทธิ์ผสมของสารพิษต่างๆ ในควันควันบุหรี่ที่สูดดมเข้าทางปาก และ จมูก คนที่ติดบุหรี่ทีโอกาสเป็นมะเร็งที่ปอด ปาก หลอดลม กระเพาะปัสสาวะ หรือที่ตับอ่อน เสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจมากกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ และอาจมีอันตรายต่อทารกในครรภ์ และผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงด้วย
ควันบุหรี่ประกอบึϹวย   1. ควันที่สูบ   (Mainstream) 2. ควันบุหรี่ที่เผาไหม้โดยไม่ได้สูบ   (Side stream) 3. ควันบุหรี่ทั้งส่วนนี้จะประกอบด้วยสารเคมีที่คล้ายคลึงกันแต่จะมีปริมาณที่แตกต่างกัน   ได้แก่ นิโคติน   ทาร์ สารจำพวกกรดและฟีนอล สารจำพวกอัลดีไฮด์และคีโตน สารจำพวกโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน สารจำพวกก๊าซต่างๆ   และสารพิษชนิดอื่นๆ
1.  สมองเสื่อมสมรรถภาพ  2.  หน้าเหี่ยวย่น แก่เร็ว 3.  โรคเหงือก ฟันดำ และกลิ่นปาก   4.  ไอเป็นเลือด ไอเรื้อรัง ผอมลง ซึ่งเป็นอาการของโรคมะเร็งปอด 5.  เหนื่อยง่าย หอบ แน่นหน้าอก ซึ่งเป็นอาการของโรคถุงลมโป่งพอง 6.  หัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย  7.  เล็บเหลือง นิ้วเหลือง 8.  นิ้วเป็นแผลเรื้อรัง นิ้วกุด  9.  ท้องแน่น อืด เบื่ออาหาร 10.  เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ   โทษต่อร่างกาย
1. นิโคติน  เป็นสารที่มีลักษณะคล้ายน้ำมัน ไม่มีสี มีผลโดยตรงต่อต่อมหมวกไต 2. ทาร์   ( น้ำมันดิน )  มีลักษณะเป็นละอองของเหลวเป็นยางสีน้ำตาลเข้มคล้ายน้ำมันดิบ   ทำให้เซลล์ของปอดไม่ทำสามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ  3.  สารจำพวกกรดและฟีนอล  ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุผิว และรบกวนการทำงานของขนเล็กๆ ในจมูก 4.  สารจำพวกอัลดีไฮด์และคีโตน  สารเหล่านี้ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุผิวของระบบทางเดินหายใจ 5. สารจำพวกโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน  ตัวที่พบมากที่สุดในควันบุหรี่คือ เบนโซ -( เอ )- พัยรีน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอย่างร้ายแรง 6.  สารจำพวกก๊าซต่างๆ  ได้แก่ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ แอมโมเนีย   7.  ชนิดอื่นๆ ได้แก่สารเคมีกำจัดแมลง  เช่น พาราไธออน ซึ่งตกค้างมาจากใบยาสูบ และโลหะหนักบางชนิด เช่น สารหนู นอกจากนี้อาจพบสารกัมมันตภาพรังสี เช่น เรเดียม โปโลเนียม   สารพิษในบุหรี่
1.  นึกถึงเหตุจูงใจที่เลิกสูบบุหรี่ 2.  เตรียมตัว เช่น ออกกำลังกาย เป็นต้น   3.  หลีกเลี่ยงกิจวัตรที่มักทำให้ต้องสูบบุหรี่   4.  อย่าตามใจตนเอง ฝึกการคลายเครียด เช่นการนั่งสมาธิ  การเลิกบุหรี่
อ้างอิง หนังสือความรู้เกี่ยวกับสิ่งเป็นพิษ ตอนที่  9   พ . ศ . 2537 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หน้าที่  15-19.

More Related Content

งาȨำเสนอ123455555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555555

  • 1. โครงงาน เรื่องพิษภัยของบุหรี่กับวัยรุ่น จัดทำโดย นายอนุวัฒน์ พงษ์เภา เลขที่ 9 ชั้น ม .5/2 เสนอ พ่อครูคเชนทร์ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน
  • 2. พิษภัยของบุหรี่กับวัยรุ่น บุหรี่ เป็นสิ่งเสพติดอย่างอ่อนที่ถูกต้องตามกฎของประเทศ ซึ่งทำรายได้แก่ผู้ผลิตและรัฐบาลจำนวนมาก แต่บุหรี่ถือว่าเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดโรคร้ายแรงหลายอย่างของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบหมุนเวียนโลหิต พิษของบุหรี่เป็นฤทธิ์ผสมของสารพิษต่างๆ ในควันควันบุหรี่ที่สูดดมเข้าทางปาก และ จมูก คนที่ติดบุหรี่ทีโอกาสเป็นมะเร็งที่ปอด ปาก หลอดลม กระเพาะปัสสาวะ หรือที่ตับอ่อน เสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจมากกว่าคนที่ไม่สูบบุหรี่ และอาจมีอันตรายต่อทารกในครรภ์ และผู้ที่อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงด้วย
  • 3. ควันบุหรี่ประกอบึϹวย 1. ควันที่สูบ (Mainstream) 2. ควันบุหรี่ที่เผาไหม้โดยไม่ได้สูบ (Side stream) 3. ควันบุหรี่ทั้งส่วนนี้จะประกอบด้วยสารเคมีที่คล้ายคลึงกันแต่จะมีปริมาณที่แตกต่างกัน ได้แก่ นิโคติน ทาร์ สารจำพวกกรดและฟีนอล สารจำพวกอัลดีไฮด์และคีโตน สารจำพวกโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน สารจำพวกก๊าซต่างๆ และสารพิษชนิดอื่นๆ
  • 4. 1. สมองเสื่อมสมรรถภาพ 2. หน้าเหี่ยวย่น แก่เร็ว 3. โรคเหงือก ฟันดำ และกลิ่นปาก 4. ไอเป็นเลือด ไอเรื้อรัง ผอมลง ซึ่งเป็นอาการของโรคมะเร็งปอด 5. เหนื่อยง่าย หอบ แน่นหน้าอก ซึ่งเป็นอาการของโรคถุงลมโป่งพอง 6. หัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย 7. เล็บเหลือง นิ้วเหลือง 8. นิ้วเป็นแผลเรื้อรัง นิ้วกุด 9. ท้องแน่น อืด เบื่ออาหาร 10. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ โทษต่อร่างกาย
  • 5. 1. นิโคติน เป็นสารที่มีลักษณะคล้ายน้ำมัน ไม่มีสี มีผลโดยตรงต่อต่อมหมวกไต 2. ทาร์ ( น้ำมันดิน ) มีลักษณะเป็นละอองของเหลวเป็นยางสีน้ำตาลเข้มคล้ายน้ำมันดิบ ทำให้เซลล์ของปอดไม่ทำสามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ 3. สารจำพวกกรดและฟีนอล ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุผิว และรบกวนการทำงานของขนเล็กๆ ในจมูก 4. สารจำพวกอัลดีไฮด์และคีโตน สารเหล่านี้ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุผิวของระบบทางเดินหายใจ 5. สารจำพวกโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ตัวที่พบมากที่สุดในควันบุหรี่คือ เบนโซ -( เอ )- พัยรีน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอย่างร้ายแรง 6. สารจำพวกก๊าซต่างๆ ได้แก่ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ แอมโมเนีย 7. ชนิดอื่นๆ ได้แก่สารเคมีกำจัดแมลง เช่น พาราไธออน ซึ่งตกค้างมาจากใบยาสูบ และโลหะหนักบางชนิด เช่น สารหนู นอกจากนี้อาจพบสารกัมมันตภาพรังสี เช่น เรเดียม โปโลเนียม สารพิษในบุหรี่
  • 6. 1. นึกถึงเหตุจูงใจที่เลิกสูบบุหรี่ 2. เตรียมตัว เช่น ออกกำลังกาย เป็นต้น 3. หลีกเลี่ยงกิจวัตรที่มักทำให้ต้องสูบบุหรี่ 4. อย่าตามใจตนเอง ฝึกการคลายเครียด เช่นการนั่งสมาธิ การเลิกบุหรี่
  • 7. อ้างอิง หนังสือความรู้เกี่ยวกับสิ่งเป็นพิษ ตอนที่ 9 พ . ศ . 2537 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หน้าที่ 15-19.