สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
- 2. อะไรคือกำรวิจัย?
• กำรวิจัย คือ กระบวนกำรค้นหำสำเหตุหรือที่มำของปัญหำ
อย่ำงมีขั้นตอนและเป็นระบบ ผลของกำรวิจัยที่ถูกต้องสำมำรถ
นำไปใช้แก้ปัญหำหรือตอบคำถำมของปรำกฎกำรณ์ที่เกิดขึ้นได้
- 4. กำหนดเรื่องที่จะทำวิจัย (Topic Identification)
• เลือกปัญหำ (Research problem)
• ตั้งชื่อเรื่อง (Research title)
• วิเครำะห์ปัญหำ
วิเครำะห์สิ่งที่ต้องกำรทรำบจำกกำรวิจัยซึ่งจะนำไปสู่
กำรเขียนคำถำมในกำรวิจัย (Research question)
วัตถุประสงค์ในกำรวิจัย (Research objective)
สมมติฐำนกำรวิจัย (Research hypothesis)
ตัวแปรในกำรทำวิจัย (Independent-Dependent variables ตัวแปร
ต้น-ตำม)
- 5. วำงแผนออกแบบงำนวิจัย (Research Design)
• ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบใด (เชิงทดลอง หรือเชิงบรรยำย)
• เครื่องมือวิจัยคืออะไร(แบบสอบถำม.....)
• วิธีกำรเก็บข้อมูลเป็นอย่ำงไร(คน โทรศัพท์)
• ใช้วิธีวิเครำะห์ข้อมูลอย่ำงไร (ต้องกำรหำค่ำอะไร)
• กำหนดแผนกำรดำเนินงำนอย่ำงไร
• เขียนโครงกำรวิจัยอย่ำงไร – บทนำ แนวคิดและทฤษฏี
ตลอดจนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีวิจัย
เอกสำรอ้ำงอิง
- 10. ข้อมูล
• ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่ต้องกำรศึกษำ ซึ่งอำจมำจำก กำรนับ กำร
วัด กำรสังเกตุ หรือ กำรสัมภำษณ์
• ชนิดของข้อมูลอำจะเป็นตัวเลข หรือ คุณลักษณะ
1. ข้อมูลแบบตัวเลข (Numeric) หมำยถึง ข้อมูลที่สำมำรถนำไปคำนวณ
ได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นอำยุ รำยได้ น้ำหนัก ระดับควำมชอบ
2. ข้อมูลแบบข้อควำม (String) หมำยถึง ข้อมูลที่ไม่สำมำรถนำไปคำนวณ
ได้ เช่น ข้อมูลที่เป็นชื่อ อำชีพ สถำนภำพ ข้อมูลแบบนี้อำจเป็นได้ทั้งตัวเลข
หรื่อตัวอักษร แต่เป็นตัวเลขที่ไม่ควรจะนำไปคำนวณ เช่น รหัสนักศึกษำ
เบอร์โทรศัพท์
- 12. • ระดับที่ 3 ข้อมูลระดับช่วง (Interval Scale) เป็นระดับที่สำมำรถ
กำหนดค่ำตัวเลขโดยมีช่วงห่ำงระหว่ำงตัวเลขเท่ำ ๆ กัน สำมำรถนำ
ตัวเลขมำเปรียบเทียบกันได้ว่ำว่ำมีปริมำณมำกน้อยเท่ำใด แต่ไม่
สำมำรถบอกได้ว่ำเป็นกี่เท่ำของกันและกัน เพรำะมำตรำกำรวัดระดับนี้
ไม่มี 0 (ศูนย์) แท้ มีแต่ 0 (ศูนย์)
• ระดับที่ 4 –ข้อมูลระดับอัตรำส่วน (Ratio Scale) เป็นระดับที่สำมำรถ
กำหนดค่ำตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องกำรวัด มี 0 (ศูนย์) แท้ เช่น น้ำหนัก
ควำมสูง อำยุ เป็นต้น ระดับนี้สำมำรถนำตัวเลขมำบวก ลบ คูณ หำร
หรือหำอัตรำส่วนกันได้
ระดับของข้อมูล (ต่อ)
- 13. ตัวแปร (variable)
ตัวแปร คือ ลักษณะที่เปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพำะของบุคคลหรือกลุ่ม เช่น
รำยได้ กำรศึกษำ อำยุ เพศ
ตัวแปรจำแนกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ตัวแปรอิสระ (Independent variable (IV)) เป็นตัวแปรที่เป็นสำเหตุของสิ่งที่
ต้องกำรศึกษำ
2. ตัวแปรตำม (Dependent variable (DV)) เป็นตัวแปรผลที่แปรค่ำตำมตัวแปร
อิสระ
ตัวอย่ำง กำรศึกษำปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรเป็นโรคควำมดันโลหิตสูงในผู้สูงอำยุ
ตัวแปรสำเหตุ คือ กำรกินอำหำรเค็ม กำรไม่ออกกำลังกำย ควำมเครียด กำร
พักผ่อนไม่เพียงพอ ควำมอ้วน ตัวแปรตำม คือ ภำวะควำมดันโลหิตสูง
- 14. ประเภทของสถิติ
1. สถิติเชิงบรรยำย หรือ พรรณำ (Descriptive statistics)
สถิติที่ใช้ในกำรบรรยำย หรือพรรณำคุณลักษณะของข้อมูล ได้แก่
ควำมถี่ ร้อยละ สัดส่วน อัตรำส่วน ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ค่ำมัธย
ฐำน ค่ำฐำนนิยม เป็นต้น
2. สถิติอ้ำงอิง (Inferential statistics)
เป็นสถิติที่ใช้ศึกษำข้อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ำง (sample) แล้วนำผลสรุป
ที่ได้จำกกลุ่มตัวอย่ำงสรุปอ้ำงอิงไปยังลักษณะประชำกร (population)
- 15. สถิติอ้ำงอิง (Inferential statistics)
กำรอ้ำงอิง หรือกำรอนุมำนด้วยวิธีกำรทำงสถิติสำมำรถจำแนกได้ 2 ประเภท
2.1 สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test)
• ข้อมูลที่ศึกษำควรอยู่ในระดับช่วงหรืออัตรำส่วน
• ข้อมูลควรมีกำรแจกแจงแบบปกติ
• ตัวอย่ำงที่ถูกเลือกควรจะต้องมีควำมอิสระต่อกัน
2.2 กำรอนุมำนแบบน็อนพำรำเมตริก (Nonparametric test)
• คุณสมบัติไม่เป็นไปตำมเงื่อนไขของกำรอนุมำนแบบพำรำ
เมตริก
- 17. 3. กำรหำควำมสัมพันธ์ (Correlation and Association)
• เป็นกำรศึกษำรูปแบบของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร 2 ตัวแปรขึ้นไป
เช่น น้ำหนักขึ้นกับส่วนสูงหรือไม่
4. กำรพยำกรณ์ (Forecasting and Prediction)
• เป็นกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร 2 ตัวแปรขึ้นไปและนำไป
สร้ำงแบบ (model) เพื่อใช้พยำกรณ์ข้อมูลประชำกรในอนำคตที่ยังไม่
เกิดขึ้น เช่น ทำนำยกำรเกิดภำวะสมองเสื่อมจำก อำยุ กำรศึกษำ และ
กำรออกกำลังกำย
วิธีกำรทำงสถิติอ้ำงอิงเพื่อหำข้อสรุปจำก
ข้อมูลตัวอย่ำง
- 19. ประเภทของสมมุติฐำน
สมมุติฐำนกำรวิจัย (Research hypothesis) เป็นสมมุติฐำนที่เขียนอยู่
ในรูปของข้อควำมที่แสดงถึงควำมสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษำกับ
คำตอบที่ผู้วิจัยคำดคะเนโดยใช้ภำษำที่เข้ำใจง่ำยสำมำรถสื่อควำมหมำย
ได้โดยตรง
• ตัวอย่ำง กำรสูบบุหรี่กับกำรเป็นโรคหัวใจ ไม่มีควำมสัมพันธ์กัน
• ไม่มีควำมแตกต่ำงของโรคควำมดันโลหิตสูงในเพศชำยและหญิง
• รำยได้เฉลี่ยเพศชำยสูงกว่ำรำยได้เฉลี่ยเพศหญิง
• คุณภำพชีวิตของแรงงำนข้ำมชำติขึ้นอยู่กับกำรศึกษำ
- 21. สมมุติฐำนทำงสถิติจะประกอบด้วย 2 ลักษณะ ควบคู่ไปเสมอ คือ
• สมมุติฐำนว่ำง หรือสมมุติฐำนหลัก (Null hypothesis) แทนสัญลักษณ์
ด้วย Ho เป็นสมมุติฐำนแสดงข้อควำมที่เป็นกลำง โดยระบุถึงควำมสัมพันธ์
ของตัวแปรว่ำเท่ำกัน ไม่แตกต่ำงกันหรือไม่มีควำมสัมพันธ์กัน
• สมมุติฐำนทำงเลือกหรือสมมุติฐำนรอง (Alternative hypothesis) แทน
สัญลักษณ์ด้วย H1 หรือ Ha เป็นสมมุติฐำนแตกต่ำงหรือตรงข้ำมกับ
สมมุติฐำนหลัก โดยระบุถึงควำมสัมพันธ์ของตัวแปรว่ำไม่เท่ำกัน แตกต่ำง
กัน มำกกว่ำ น้อยกว่ำ หรือมีควำมสัมพันธ์กัน
ประเภทของสมมุติฐำน
- 22. ระดับนัยสำคัญ (Level of Significance)
• สัญลักษณ์ คือ α
• คือ ค่ำแสดงกำรกำหนดควำมคลำดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในกำรทดสอบ
สมมติฐำน
• โดยกำหนดให้เป็นค่ำของโอกำสหรือควำมน่ำจะเป็นที่จะปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์ (null
hypothesis) เช่น เมื่อ α =0.05 แสดงว่ำผู้วิจัยยอมให้มีโอกำสปฎิเสธสมติฐำนหลัก
Ho เท่ำกับ 5% หรือ ยอมรับสมติฐำนหลัก 95%
• กำรสรุปผลกำรศึกษำ ถ้ำควำมน่ำจะเป็นจำกกำรวิจัยมีค่ำมำกกว่ำระดับนัยสำคัญ
ที่ตั้งไว้ ก็จะยอมรับสมมุติฐำนศูนย์ แต่ถ้ำควำมน่ำจะเป็นจำกกำรวิจัยมีค่ำน้อยกว่ำ
หรือเท่ำกับระดับนัยสำคัญที่ตั้งไว้ ก็จะปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์ ดังนั้น ผลที่ได้จำก
กำรศึกษำเดียวกัน อำจจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐำนศูนย์หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
ระดับนัยสำคัญที่ตั้งไว้ ระดับนัยสำคัญที่ใช้กันทั่วไป คือ ระดับ .05 และ .01
- 23. กำรปฏิเสธ หรือ กำรยอมรับสมมติฐำน
เกณฑ์กำรยอมรับ หรือปฏิเสธสมมติฐำนจำกผลกำรคำนวณที่ได้ จำก
โปรแกรม SPSS จะเป็นกำรเปรียบเทียบค่ำทำง สถิติ 2ตัว
• 1.ค่ำสถิติ ที่คำนวณได้จำกโปแกรมซึ่งเป็นค่ำควำมน่ำจะเป็น
(Probability) ใชสัญลักษณ์ P
• 2.ค่ำระดับนัยสำคัญทำงสถิติใช้สัญลักษณ์ α
*ถ้ำ P< α ที่กำหนด จะปฎิเสธ Ho หรือ ยอมรับควำมแตกต่ำงจำก H1
- 24. กำรทดสอบสมมติฐำน
1.กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปร 1 ตัว (Univariate test)
• สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ t-test (one sample
t-test or z-test)
ตัวอย่ำง อำยุเฉลี่ยของกำรตั้งครรภ์ในแรงงำนต่ำงด้ำวน้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 18 ปี
• สถิตินอนพำรำมิเตอร์ (Nonparametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ Chi-square
ตัวอย่ำง ในกำรสอบถำมคนไข้ในโรงพยำบำลแห่งหนึ่งจำนวน 200 คน เกี่ยวกับ
พฤติกรรมกำรรักษำของแพทย์ พบว่ำ คนไข้พอใจมำก 72 คน พอใจ 60 คน เฉยๆ 22
คน ไม่พอใจ 46 คน อยำกทรำบว่ำควำมคิดเห็นของคนไข้ต่อพฤติกรรมกำรรักษำ
ของแพทย์ มีสัดส่วนที่เท่ำกันหรือไม่ ระหว่ำงพอใจมำก พอใจเฉยๆ และไม่พอใจที่ระดับ
นัยส ำคัญ 0.01
- 25. กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปร 2 ตัว (Bivariate test)
เป็นกำรทดสอบสมมติฐำนเมื่อมีตัวแปรอิสระ 1 ตัวแปร ตัวแปรตำม 1 ตัว
• สถิติพำรำมิเตอร์ (Parametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ
Independent t-test , Paired t-test, One –way Anova, Pearson
correlation, Simple regression
ตัวอย่ำง อำยุเฉลี่ยของกำรตั้งครรภ์ในแรงงำนต่ำงด้ำวกัมพูชำ และ
แรงงำนต่ำงด้ำวพม่ำมีค่ำแตกต่ำงกันหรือไม่
• สถิตินอนพำรำมิเตอร์ (Nonparametric test) สถิติที่ใช้ทดสอบคือ
Mann-Whitney, Wilcoxon test, Kruskal-Wallis test, Spearman
correlation, Chi-square test of independent
กำรทดสอบสมมติฐำน
- 26. กำรทดสอบสมมติฐำนด้วยตัวแปรมำกกว่ำ 2 ตัว (Multivariate test)
เป็นกำรทดสอบขั้นสูงที่วิเครำะห์ตัวแปรมำกกว่ำ 2 ตัวสถิติที่ใช้ทดสอบคือ
• กำรวิเครำะห์ควำมถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression analysis)
• กำรวิเครำะห์องค์ประกอบ(Factor analysis)
• กำรวิเครำะห์กลุ่ม(Cluster analysis)
• กำรวิเครำะห์จำแนกกลุ่ม(Discriminant analysis)
กำรทดสอบสมมติฐำน