ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ปริญญา ดารงโภคภัณฑ์
พยาบาลวิชาชีพ
Trends in incidence of female breast cancer in selected countries: age-standardised rate (W) per 100,000
Estimated Breast Cancer Incidence Worldwide in 2012
http://globocan.iarc.fr/Pages/fact_sheets_cancer.aspx
1.Breast 37.09%
(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2555)
(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2555)
สถิติและแนวโน้มมะเร็งเต้านมประเทศไทย
(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2555
0
20
40
60
80
100
120
140
160
180
200
<5 5- 10- 15- 20- 25- 30- 35- 40- 45- 50- 55- 60- 65- 70- 75+
Female
Male
จานวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ แบ่งตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2555
สถิติและแนวโน้มมะเร็งเต้านม
(รายงานประจาปีศูนย์มะ๶ร็งBʰ,2556.)
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
 การผ่าตัด ( Surgery)
 รังสีรักษา ( Radiation Therapy)
 การรักษาด้วยฮอร์โมน (Endocrine Therapy)
 เคมีบาบัด (Chemo Therapy)
 Targeted Therapy
 การผ่าตัดเต้านมออก (Mastectomy)
 การผ่าตัดสงวนเต้า (Breast Conservation Therapy หรือ BCT)
 การผ่าตัดต่อมน้าเหลืองบริเวณรักแร้
ปัจจัยตัวมะเร็ง
 1. ลักษณะของมะเร็ง
 2. ตาแหน่งของก้อนมะเร็ง
 3. ขนาดของก้อนมะเร็ง
 4. การกระจายตัวของมะเร็ง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย
 1.อายุ
 2.กรรมพันธุ์
 3.โรคประจาตัว
ปัจจัยด้านเต้านม
 รูปทรงของเต้านม
 ขนาดของเต้านม
 1.Simple Mastectomy
 2.Radical Mastectomy
 3.Modified Radical Mastectomy (MRM)
 4.Modified Radical Mastectomy with Reconstruction
 5.Skin Sparing Mastectomy/Modified Radical Mastectomy with
Reconstruction
1.Simple Mastectomy คือการตัดเฉพาะเต้านมออกโดยไม่มีการ
เลาะต่อมน้าเหลืองบริเวณรักแร้ วิธีการจะใช้เมื่อแน่ใจว่า มะเร็งอยู่
เฉพาะที่ ไม่ได้แพร่กระจายไปยังต่อมน้าเหลือง
2.Radical Mastectomy เป็นการผ่า
เอาเต้านมพร้อมก้อนมะเร็งออก
เลาะเอาก้อนน้าเหลืองบริเวณรักแร้
และตัดเอากล้ามเนื้อทรวงอก
(Pectoralis Major และ Minor)ออก
ปัจจุบันไม่นิยมทา เนื่องจากมีผล
แทรกซ้อนหลังผ่าตัดมาก จึงเลือกทา
ในรายที่มีแพร่กระจายไปยัง
กล้ามเนื้อทรวงอก
3.Modified Radical Mastectomy (MRM) คือการผ่าตัดเอา
เต้านม และต่อมน้าเหลืองใต้รักแร้ออก
4.Modified Radical Mastectomy with Reconstruction คือ
การผ่าตัดเอาเต้านมออกด้วยวิธี Modified Radical Mastectomy
แล้วยังมีการผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อจากบริเวณหลังหรือท้อง มา
ทาเป็นเต้านมและหัวนม
5.Skin Sparing Mastectomy/Modified Radical Mastectomy
with Reconstruction คือการผ่าตัดเนื้อเยื้อเต้านมออกทั้งหมด/
เนื้อเยื่อเต้านมและต่อมน้าเหลืองทั้งหมด แต่จะเก็บผิวหนังเต้า
นมไว้ มีการผ่าตัดย้ายกล้ามเนื้อจากบริเวณหลังหรือท้อง มาทา
เป็นเต้านมและหัวนม
5.Skin Sparing Mastectomy/Modified Radical Mastectomy
with Reconstruction
ในกรณีที่เป็นมะเร็งระยะเริ่มต้น ได้แก่
 DCIS (Ductal Carcinoma in situ หรือ Stage 0)
 Stage 1
 Stage 2
BCT แล้วมักจะตามด้วยการฉายแสง
BCT มีชื่อเรียก ดังนี้
◦ Lumpectomy
◦ Partial Mastectomy
◦ Quadrantectomy
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
ต่อมน้าเหลืองบริเวณรักแร้
การตรวจหาต่อมน้าเหลืองเซนติเนล ( sentinel lymph
node biopsy) เป็นการตรวจหาต่อมน้าเหลืองในตาแหน่งแรก
( sentinel lymph node) ที่มะเร็งอาจแพร่กระจายเข้าไป
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
ด้านร่างกาย: ประเมินสมรรถนะของร่างกายเพื่อเตรียมความ
พร้อมก่อนผ่าตัด
ด้านจิตใจ: ประเมินความพร้อมด้านจิตใจ เตรียมความพร้อม
เพื่อรับกับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตนก่อนและหลังผ่าตัด:
ให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ป่วยจิตอาสา
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
เกิน 2 ซ.ม.
ถือว่าเกิดภาวะแขนบวม
ตาแหน่งวัด
*หลังผ่าตัดเต้านมแบบ Modified Radical Mastectomy(MRM)จะเกิดภาวะข้อไหล่ติดประมาณ 8-15%
 ท่าบริหารเพื่อป้ องกันภาวะข้อไหล่ติด
1.หมุนเป็นวง 2.กางแขน
 ท่าบริหารเพื่อป้ องกันภาวะข้อไหล่ติด
3.บิดไหล่
 ท่าบริหารเพื่อป้ องกันภาวะข้อไหล่ติด
4.บริหารกล้ามเนื้อแขนและไหล่
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม

More Related Content

การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะ๶ร็งเต้านม

Editor's Notes

  1. ปัจจัยตัวมะเร็ง 1. ลักษณะของมะเร็ง  มะเร็งที่มีลักษณะทางชีววิทยา (tumor features) ที่บ่งบอกว่ามีความร้ายแรง มีโอกาสกลับเป็นซ้ำในเต้านมได้สูง ก็ไม่ควรเลือกวิธีผ่าตัดแบบสงวนเต้า 2. ตำแหน่งของก้อนมะเร็ง  เป็นสิ่งที่จะกำหนดตำแหน่งของบาดแผล ลักษณะการจัดวางแนวแผล 3. ขนาดของก้อนมะเร็ง  ก้อนมะเร็งที่มีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดเต้านมอาจไม่เหมาะสมที่จะผ่าตัดแบบสงวนเต้า 4. การกระจายตัวของมะเร็ง  มะเร็งที่เกิดขึ้นหลายๆ ตำแหน่ง หรือกระจายตัว หลายๆหย่อม ในเต้านม จะไม่สามารถเลือกวิธีผ่าตัดแบบสงวนเต้าได้
  2. ปัจจัยด้านผู้ป่วย อายุ   กรรมพันธุ์ หรือปัจจัยเสี่ยงอื่น  เป็นสิ่งที่บ่งบอกว่าเนื้อเยื่อ เต้านมส่วนอื่นๆ ก็มีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งตามมาได้ในอนาคต ดังนั้นการผ่าตัดสงวนเต้าอาจไม่เหมาะในผู้ป่วยกลุ่มนี้ และหากมีการตรวจยืนยัน ผู้ป่วยมียีนมะเร็งเต้านม (BRCA-1, BRCA-2) ด้วยแล้ว ถือเป็นข้อบ่งชี้สำหรับผู้ป่วยบางคน ในการผ่าตัดเอาเนื้อเยื่อเต้านมอีกข้างออกด้วย เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดมะเร็งในเต้านมข้างที่ยังปกติอยู่ในอนาคต โรคประจำตัว  ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเข้ารับการฉายแสงได้ เนื่องจากมีโรคประจำตัว เช่นโรคผิวหนังบางชนิด หรือป่วยมากจนเดินทางไปฉายแสงไม่ได้   ก็ไม่ควรเลือกวิธีผ่าตัดแบบสงวนเต้าเพราะต้องมีการฉายแสงเป็นภาคบังคับที่ต้องทำควบคู่ไปด้วย
  3. ปัจจัยด้านเต้านม รูปทรงของเต้านม   เช่น ความหย่อนยาน ของเต้านมข้างที่เป็น และข้างตรงกันข้ามก็จะต้องนำมาวางแผนเลือกแนวทางการผ่าตัด โดยเฉพาะการผ่าตัดแบบสงวนเต้า เนื่องจากหลังผ่าแล้ว เต้านมสองข้างควรสมดุลกัน และมีรูปทรงที่ดูดี ไม่บิดเบี้ยว ขึ้นกับการวางแผนในการผ่าตัดตั้งแต่แรก ขนาดของเต้านม   เต้านมขนาดเล็กๆ ไม่เหมาะที่จะเลือกผ่าตัดวิธีสงวนเต้า เนื่องจากมีความจำกัดในการเลาะก้อนเนื้อออกให้มีขอบเขตกว้างในระดับที่ต้องการ และยังมีโอกาสเสียรูปทรงหรือบิดเบี้ยว หลังผ่าตัดและหลังฉายแสงได้สูง มันจะเป็นการดีกว่าถ้าเราใช้วิธีตัดเลาะเนื้อเยื่อเต้านมออกให้หมด แล้วเสริมสร้างขึ้นมาใหม่