ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
โครงงาน
การรักษามะม่วงไม่ให้เน่าเร็ว
จัดทาโดย
น.ส ชนิษฐา จงธนโชติ เลขที่ 16
น.ส จิตติกา โศรกหาย เลขที่ 17
น.ส. ลักษิกา คิดสุขุม เลขที่ 22
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5
เสนอ
นาย กิตติพงษ์ จรัญศิริไพศาล
วิชา IS รหัสวิชา 132202
โรงเรียนชุมแพศึกษา
อาเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของ คุณครู กิตติพงษ์ จรัญศิริไพศาล
ครูผู้สอนในรายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ (IS) ได้ให้คาแนะนา แนวคิด
ตลอดจนวิธีการปรับปรุงโครงงานให้ดียิ่งขึ้นมาโดยตลอดจนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์
ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ของสมาชิกในกลุ่ม ที่ได้ให้คาปรึกษาต่างๆ
รวมทั้งเป็นกาลังในให้เราเสมอ
สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆ ที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆ เพื่อมาปรับปรุงให้โครงงานี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
และให้ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโครงงานนี้
คณะผู้จัดทา
18 ธันวาคม 2556
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
โครงงาน การรักษามะม่วงไม่ให้เน่าเร็ว
จัดทาโดย นางสาว ชนิษฐา จงธนโชติ
นางสาว จิตติกา โศรกหาย
นางสาว ลักษิกา คิดสุขุม
อาจารย์ที่ปรึกษา นาย กิตติพงษ์ จรัญศิริไพศาล
สถานศึกษา โรงเรียนชุมแพศึกษา
บทคัดย่อ
โครงงานนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อนศึกษาถึงประโยชน์ของมะม่วง
โดยนามะม่วงที่เรานามาเพื่อการทดลองและค้นหว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับการไม่เน่าเสียของมะม่วงว่าต้องใช้วิธีกา
รใดจึงไม่เน่าเสียและเราได้นาสมุนไพรต่างๆ นามาใช้ประโยชน์ เพื่อไม่มะม่วงเน่าเสีย จากการศึกษาพบว่า
เราได้นา สมุนไพรมาใช้ในการทดลองเราได้นา ขมิ้นชันมาทดลองในการศึกษาพบว่าขมิ้นชันและมะม่วง 9
ลูก นามาล้างแล้วเช็ดให้แห้งจากนั้นนาขมิ้นชันไปตาจากนั้นก็นามาทาที่มะม่วงทิ้งไว้ประมาณ 7วัน
ปรากฏว่ามะม่วงไม่เน่า และยังคงสามารถเก็บได้นาน
ประโยชน์ของขมิ้นและคุณสมบัติของขมิ้นที่สามารถยับยั้งการเกิดแบคทีเรียซึ่งเกิดจากการแอนแทคโน
ซึ้งเป็นปฎิกิริยาที่เร่งให้พืชเกิดการเน่าเสียง่ายจึงนามาประยุกต์ใช้ในการเคลือบผิวมะม่วงเพื่อยืดอายุในการเ
น่าเสียของมะม่วง
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนา 1
ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ 1
สมมติฐาน 1
ตัวแปรที่ศึกษา 1
ขอบเขตการศึกษา 1
ประโยชน์ที่คิดว่าจะได้รับ 1
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
งานวัจัยที่เกี่ยวข้อง 4
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 6
อุปกรณ์ 6
วิธีทา 6
วิธีการทดลอง 7
บทที่ 4 ผลการทดลอง 8
ตารางผลการทดลอง 8
บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 9
สรุปผล 9
ปัญหาและอุปสรรค 9
ข้อเสนอแนะ 9
ภาคผนวก 10
ประวัติผู้เขียน 14
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยของเรานั้น มีการถนอมมะม่วงหลายรูปแบบ เช่นการหมัก การดอง
การแช่อิ่ม เป็นต้น การถนอมมะม่วงนั้นถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้านที่มีมานานแล้ว
เพื่อยืดอายุการเก็บรักษามะม่วงไว้ใช้บริโภคในภายหลัง ทาให้มะม่วงไม่เน่าเสียเร็ว
และส่วนใหญ่นั้นการถนอมมะม่วงก็มักเป็นการแปรรูปผลไม้
ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือการรักษามะม่วงไม่ให้เน่าเร็ว โดยใช้สมุนไพรไทยแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
และปลอดภัยแกผู้รับประทาน โดยใช้ขมิ้นชันมาเป็นส่วนผสมในการที่จะทาให้มะม่วงไม่เน่าเร็ว
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อสอบหาความสาคัญของการยืดอายุมะม่วงไม่ให้เน่าเร็ว
2.การเปรียบเทียบระหว่างการใช้ยาฆ่าแมลงกับสมุนไพรในการยืดอายุมะม่วงไม่ให้เน่าเร็ว
ขอบเขตการศึกษาของโครงงาน
-ระยะเวลาในการศึกษา ในภาคเรียนที่1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5
สถานที่ทาโครงงาน
-โรงเรียนชุมแพศึกษา
ประโยชน์ที่คาดหวังที่ได้รับ
-สามารถนาความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวันได้
สมมุติฐานโครงงาน
-การรักษาไม่ให้มะม่วงเน่าเร็วเป็นที่พอใจและความปลอดภัยแก่ร่างกาย
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
บทที่2
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
มะม่วง
ชื่ออื่นๆ : มะม่วงบ้าน มะม่วงสวน หมักโม่ง หมากม่วง ลูกม่วง
ชื่อสามัญ : Mango, Mango tree
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Manaiferaindica Linn.
วงศ์ : Anacardiaceae
ถิ่นกาเนิด: เอเชียเขตร้อน
ลักษณะทั่วไป : ไม้พุ่มยืนต้น สูงประมาณ 10 - 15ม. ลาต้นตรง เรือนยอดกลมทึบ ใบเดี่ยว
การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียน ใบรูปหอกยาวแกมขอบขนาน ปลายเรียวแหลมโคนมนแหลม
ออกดอกเดือนธันวาคมถึง มกราคม ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ในช่อดอกหนึ่งๆ จะมีช่อย่อยหลายช่อ
ดอกย่อยขนาดเล็กสีเหลืองอ่อนก้านดอกสั้น ผลสุกเดือนพฤษภาคมถึง มิถุนายน
และมีพันธุ์ทวายซึ่งออกนอกฤดูกาล ผลเป็นแบบผลสด รูปทรง ขนาด และสีผิวแล้วแต่ชนิดพันธุ์นั้นๆ
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
บริโภคได้ทั้งผลดิบและผลสุก รสเปรี้ยว มัน และหวาน
มะม่วงในประเทศไทยโดยเฉพาะที่ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง
มก. วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม มีอยู่หลากหลายพันธุ์
ขมิ้นชัน
ชื่อสามัญ : Turmeric,Curcuma
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma Longa Linn
ชื่ออื่น : ขมิ้นหัว,ขมิ้นแกง,ขมิ้นหยวก (เชียงใหม่) ขมิ้น (กลาง) หมิ้น,ขี้มิ้น (ภาคใต้) สะยอ (กะเหรี่ยง-
แม่ฮ่องสอน) ตา ยอ (กะเหรี่ยง-กาแพงเพชร)
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
เหง้าขมิ้นมีสารประกอบที่สาคัญ เป็นน้ามันหอมระเหย "เอสเซนเซียล"
และในเหง้ายังมีสารสีเหลืองส้มที่ทาให้ขมิ้นได้ชื่อว่า
Curcuminจากการทดลองพบว่าขมิ้นสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ลดอาการอักเสบ
มีฤทธิ์ในการขับน้าได้ดี น้ามันหอมระเหยในขมิ้นมีสรรพคุณรักษาปวดท้องเสียด ท้องอืด แน่นจุกเสียด
ขมิ้นไม่มีพิษเฉียบพลัน มีความปลอดภัยสูง
ลักษณะทั่วไป
ต้น: เป็นพรรณไม้ล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดินมากเป็นพรรณไม้เดียวกันกับว่านหรือขิง มีลาต้นสูงประมาณ
50-70ซม. เนื้อในจะมีสีเหลืองอมส้ม และมีกลิ่นหอม
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
ใบ: เป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่รูปหอกแกมขนานกัน กว้างประมาณ 8-10ซม. และยาวประมาณ 30-40 ซม.
ก้านใบยาวราวประมาณ 8-15ซม. เป็นก้านใบแคบ ๆมีร่องแผ่ครีออกเล็กน้อย
หน้าแล้งใบนั้นจะแห้งเหลือเหง้าใต้ดินอยู่ ห้ามรดน้าเพราะ ถ้าแฉะไปเหง้าก็จะเน่า แต่ถ้าฤดูฝน
ฝนตกก็จะแทงต้นใหม่และออกดอก
ดอก:จะออกเป็นช่อใหญ่สวย ก้านช่อนั้นจะยาวพุ่งออกมาจากใต้ดิน ก้านช่อดอกมียาวประมาณ 5-8
ซม.ส่วนใบประดับสีเขียวอ่อน ๆ หรือ สีขาว ตรงปลายช่อดอกจะมีสีชมพูอ่อน
จะจัดเรียงซ้อนกันอย่างระเบียบ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เดชา ศิริภัทร (2537) [1] ได้ศึกษาเคล็ดลับที่ช่วยทาให้มะม่วงสุก
เก็บได้นานโดยให้เลือกมะม่วงแก่จัด ล้างยางที่เกาะผิวมะม่วงให้หมด ใช้ผ้าสะอาดเช็ดให้แห้ง
แล้วนาไปใส่ตะกร้าที่รองด้วยผ้า หรือกระสอบก็ได้ โดยตั้งขั้วมะม่วงขึ้น วางเรียงกันไว้โดยไม่ต้องซ้อนลูก
เสร็จแล้วให้นาผ้ามาปิดบนลูกมะม่วง
กิจติกร กีรติเรขา(2550) [2] ได้ศึกษาการประสบปัญหากับการเก็บผลผลิตมะม่วง
ซึ่งที่ผ่านมาเก็บในห้องเย็นที่มีอุณหภูมิ3 องศาเซลเซียส แต่เก็บไว้ได้เพียง 2เดือน
เขาจึงค้นหาวิธีใหม่ด้วยการนาภูมิปัญญาชาวบ้าน นาขมิ้นมาเป็นตัวช่วย ส่งผลให้เก็บผลมะม่วงงามเมืองย่า
ได้นานถึง 4 เดือน
นายปวิณปุณศรี(2545) [3] ได้ศึกษาการเก็บถนอมผลไม้สด
ผลไม้ที่เก็บมาจากต้นแล้วจะยังมีการหายใจและคายไอน้าต่อไปกระบวนการทั้งสองอย่างนี้มีความสาคัญยิ่ง
ต่ออายุในการเก็บถนอมผลไม้สด เพราะจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับจานวนแป้ง น้าตาล
กรดปริมาณน้าในผล ความเป็นกรดเป็นด่างรวมทั้งการ
เปลี่ยนแปลงของสารที่ระเหยได้เป็นจานวนมากนอกจากนี้ผลไม้ที่เก็บรักษาไว้อาจได้รับความเสียหายจากโร
คและแมลงทาให้ผลไม้เน่าเสียหาย
วิธีการดาเนินการโครงงาน
1.ตั้งสมมุติฐาน
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
2.ศึกษาเรื่องโครงงาน
3.วางแผนเกี่ยวกับโครงงาน
4.ศึกษาปัญหาที่พบบ่อย
5.ทดลอง
6.ทาโครงงาน
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
ข้อมูลที่ใช้ทาโครงงาน
สถานที่และระยะเวลาในการศึกษา
-ศึกษาจากคุณครู
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
-ศึกษาและหาปัญหาของแม่บ้าน
สถานที่
โรงเรียน,บ้านโคกสูงสาราญ
ระยะเวลา
ตลอดจนภาคเรียนที่1ในชั้นม.5
วัสดุอุปกรณ์
-คอมพิวเตอร์ในการค้นหา
-แบบสอบถาม
-ปากกา 1ด้าม
ขั้นตอนการทาโครงงาน
วัสดุอุปกรณ์
-ขมิ้นชัน
-น้าเปล่า
-ตะกร้า
-ผ้า
วิธีการทา
-ใช้มะม่วงที่แก่จัด โดยเป็นลูกที่ไม่มีแมลงเจาะ
-ล้างยางที่เกาะผิวมะม่วงให้หมด
-ใช้ผ้าเช็ดให้แห้งมาดๆ
-นาขมิ้นชันมาตาจากนั้นให้ทาขมิ้นชันทั่วผิวมะม่วง
-จากนั้นให้นามาใส่ตะกร้าแล้วนาผ้ามาปิด
-ทิ้งไว้2 คืน มะม่วงก็จะทยอยสุก เหลือง น่ากิน ไม่เน่าเร็ว
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
**สรุปผลได้ที่ตาราง
บทที่4
ผลโครงงานและอภิปรายผล
-*ตารางจากการสารวจและศึกษาวิธีการรักษามะม่วงจากแม่บ้านทั้งหมด5คน
-*ตารางการทดลองจากวัสดุอุปกรณ์เช่นสมุนไพร์3อย่าและยาฆ่าแมลง1อย่าง เช่นขมิ้นชัน มะนาว มะกรูด
แม่บ้าน วิธีการรักษามะม่วงโดยการ
คนที่1 ล้างน้ายางของมะม่วงแล้วทิ้งไว้
คนที่2 เอามะม่วงใส่ขวดโหล
คนที่3 ใช้กระดาษม้วนไว้จากนั้นก็ค้างคืน
คนที่4 แช่ในตู้เย็นไว้
คนที่5 ใส่ตะกร้าแล้วเอาผ้าปิดแล้วค้างคืน
วัสดุในการทดลอง วิธีการทา ผลที่ออกมา ความปลอดภัยในร่างกาย
ขมิ้นชัน นาขมิ้ยชันมาทามะม่วง มะม่วงไม่เน่าเสีย ปลอดภัย
มะนาว นามะนาวมาแช่มะม่วง ยังมีการเน่าบางส่วน ปลอดภัย
มะกรูด นามะกรูดมาแช่มะม่วง ยังมีการเน่าบางส่วน ปลอดภัย
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
ยาฆ่าแมลง พ่นใส่มะม่วง มะม่วงไม่เน่าเสีย ไม่ปอลดภัย
-จากการสารวจ แม่บ้านทั้งหามีวิธีการรักษามะม่วงไม่เหมือนกัน แต่ยังคงไม่ใช้สารเคมีใดq
และยังคงความปลอดภัยแก่ร่างกาย
-การทดลองโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เตรียมมาพบว่า ขมิ้นชัน
มีความปลอดภัยและทาให้ไม่มะม่วงไม่เน่าเสียเร็วแต่มะนาวและมะกรูดยังมีการเน่าเสียเล็กน้อยหรือบางส่ว
นแต่ยังคงความปลอดภัย
ส่วนการพ่นยาฆ่าแมลงพบว่ามะม่วงไม่เน่าเสียแต่มีสารตกค้างในมะม่วงทาให้ไม่ปลอดภัยแก่ร่างการ
บทที่ 5
สรุปผลโครงงาน
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาการรักษามะม่วงไม่ให้เน่าเร็วเพื่อศึกษาถึงประโยชน์ของมะม่วง
โดยนามะม่วงที่เรานามาเพื่อการทดลองและค้นหว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับการไม่เน่าเสียของมะม่วงว่าต้องใช้วิธีกา
รใดจึงไม่เน่าเสียและเราได้นาสมุนไพรต่างๆ นามาใช้ประโยชน์ เพื่อไม่มะม่วงเน่าเสีย จากการศึกษาพบว่า
เราได้นา สมุนไพรมาใช้ในการทดลองเราได้นา ขมิ้นชัน
โดยการใช้ขมิ้นชันนั้นได้ผลที่สุดและปลอดภัยจากการนา มะนาว มะกรูดและยาฆ่าแมลง
โดยคุณสมบัติของขมิ้นที่สามารถยับยั้งการเกิดแบคทีเรียซึ่งเกิดจากการแอนแทคโน
ซึ้งเป็นปฎิกิริยาที่เร่งให้พืชเกิดการเน้าเสียง่ายจึงนามาประยุกต์ใช้ในการเคลือบผิวมะม่วงเพื่อยืดอายุในการเ
น่าเสียของมะม่วง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทาให้รู้ถึงปัญหาของแม่บ้านที่มีแก่มะม่วง
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
2. ทาให้รู้ถึงความปลอดภัยไม่ปลอดภัยแก่มะม่วง
3. ฝึกการวางแผนและการทางานเป็นทีม
4. สร้างความสามัคคีในกลุ่ม
ข้อเสนอแนะ
1.ควรคิดเป็น เปอร์เซ็นต์ออกมาเพื่อจะได้เปรียบเทียบได้ชัดเจน
2.ควรมีข้อมูลมากกว่านี้
ภาคผนวก
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
เตรียมอุปกรณ์
รูปที่1 มะม่วงที่จะเอามาทาการทดลอง
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
รูปที่2 เตรียมปั่นขมิ้น
ลงมือทา
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111
รูปที่ 3ปั่นขมิ้นรูปที่ 4ล้างมะม่วง
รูปที่ 5 ลงมือทาขมิ้นที่ผิวมะม่วง รูปที่ 6เอาผ้ามาปิดให้เรียบร้อย
การรักษามะม่วงไม่ให้๶Ȩาเร็ว1131111111111

More Related Content

บทท 2 (1)