ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
วิเคราะห์และสังเคราะห์มารยาทและจริยธรรม
ทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่ม Hermosa
1.นายเอกภพ พันธุ์จันทร์
2.นางสาวสุกัญญา หาญวงษ์
3.นางสาวนภา นรินทร์
วิเคราะห์และสังเคราะห์มารยาทและจริยธรรมทาง
วิชาการในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 จริยธรรม (Ethics)คาว่า "จริยธรรม" แยกออกเป็น จริย + ธรรม ซึ่งคาว่า จริย หมายถึง
ความประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ ส่วนคาว่า ธรรม มีความหมายหลายประการ เช่น
คุณความดี, หลักคาสอนของศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนาคาทั้งสองมารวมกันเป็น "จริยธรรม"
จึงมีความหมายตามตัวอักษรว่า "หลักแห่งความประพฤติ" หรือ "แนวทางของการประพฤติ"
จริยธรรม เป็นสิ่งที่ควรประพฤติ มีที่มาจากบทบัญญัติหรือคาสั่งสอนของศาสนา หรือใครก็
ได้ที่เป็นผู้มีจริยธรรม และได้รับความเคารพนับถือมาแล้วลักษณะของผู้มีจริยธรรม ผู้มี
จริยธรรมจะเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะดังนี้
๑. เป็นผู้ที่มีความเพียรความพยายามประกอบความดี ละอายต่อการปฏิบัติชั่ว
๒. เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม และมีเมตตากรุณา
๓. เป็นผู้มีสติปัญญา รู้สึกตัวอยู่เสมอ ไม่ประมาท
๔. เป็นผู้ใฝ่หาความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพ เพื่อความมั่นคง
๕. เป็นผู้ที่รัฐสามารถอาศัยเป็นแกนหรือฐานให้กับสังคม สาหรับการพัฒนาใด ๆ ได้
ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
 ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศส่วนบุคคล
 สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง
 สิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการ
เปิดเผยให้กับผู้อื่น
 ความถูกต้องแม่นยา (Accuracy)
 ความถูกต้องของข้อมูล
 การเก็บรวบรวม
 วิธีการปฏิบัติกับข้อมูลสารสนเทศให้เกิดความถูกต้อง
 ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล
ความเป็นเจ้าของ (Intellectual
Property)
 กรรมสิทธิ์และมูลค่าของข้อมูลสารสนเทศ
 กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน
 การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility)
 สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้
 การจ่ายค่าธรรมเนียมในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ

วิเคราะห์มารยาททางวิชาการในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
 มารยาทในการใช้เทคโนโลยีคือการที่เราไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ในด้าน
ต่างๆของผู้อื่น รวมถึงการให้เกียรติผู้อื่น ซึ่งเป็นเจ้าของผลงานที่
เรานามาใช้โดยการอ้างอิงเพื่อเป็นการยกย่อง
ศึกษาและวิเคราะห์การกระทาผิดมารยาทหรือ
จริยธรรมทางวิชาการในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศที่เกิดขึ้นในสภาพจริง
 สรุปสภาพของกรณีที่เกิดขึ้น
 วิกฤติมาตรฐานงานวิจัย
 คดีคัดลอกข้อมูลทาวิทยานิพนธ์ “ศุภชัย หล่อโลหการ”
ศาลอุทธรณ์ยืนยกฟ้ องคดีหมื่นประมาท ระบุ”วิลเลี่ยม
แอลลิส”คือผู้เขียน
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ที่กระทาผิด
1.ทาให้เสื่อมเสียประวัติและความน่าเชื่อถือ
2.เสียโอกาสในการทางาน
3.ครอบครัวได้รับผลกระทบ
ผลกระทบของผู้ที่ถูกละเมิด
เกิดการเสียหายหรือเบี่ยงเบนไป จากความเป็นจริง
เนื่องมาจากการดัดแปลงของผู้ขโมยข้อมูลนั้นๆทาให้เสีย
ความน่าเชื่อถืออันเนื่องมาจากไม่ใช่ข้อมูลของเจ้าของ
ตัวจริงแต่อาจจะเป็นชิ้นที่ถูกแก้ไขให้บิดเบียนไป
เสนอแนะแนวปฏิบัติที่ดี และแนวทางทางการแก้ไข
เกี่ยวกับกรณีที่เกิดขึ้น
 เสนอแนะแนวปฏิบัติที่ดี และแนวทางทางการแก้ไขเกี่ยวกับกรณีที่เกิดขึ้น
 เจ้าของเองควรจะจัดการด้านเทคนิกในการที่จะป้ องกันผลงานทางวิชาการ
ของตนเองโดยใช้โปรแกรมห้ามคัดลอก หรือจะจดเป็นลิขสิทธิ์ เป็นต้น
 ส่วนผู้คัดลอกเองควรจะมีความตระหนักในเรื่องนี้มากขึ้น เพราะสามารถทา
ความเสียหายมาสู่ตนเองได้เป็นอย่างมากในภายหลัง
 และเราควรหันมาสร้างความตระหนักให้ความสาคัญ แก่ทุกๆ คนโดยเฉพาะ
คนรุ่นใหม่เพื่อเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องให้แก่อนาคตของชาติ ว่า
ถึงแม้จะเป็นสิ่งที่ง่ายดาย แต่ก็สามารถสร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองและ
ผู้อื่นได้อย่างมากมาย ซึ่งอาจจะหมายถึงอนาคตที่สดใสก็เป็นได้

More Related Content

ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)