1. บทความวิจัย : เครื่องมือวาดภาพ 2 มิติโดยใช้การร่างภาพสำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวของภาษามือ
à¤ÃèÍקÁÍ×ÇÒ´ÀÒ¾ 2 ÁμÔâÔ´Â㪡ˆÒÃÃÒ‡§ÀÒ¾
ÊÓËúѡÒÃÊÃÒˆ§ÀÒ¾à¤ÅÍè×¹äËǢͧÀÒÉÒÁÍ×
The Sketching-Based 2D Drawing Tool for Sign Language Animation
ณฐัสนิีตงั้ศริไิพบลูย์(Natsinee Tangsiripaiboon)* และ นราธปิเทยี่งแท้(Narathip Tiangtae)*
20 วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ
Information Technology Journal
คนหหูนวกกบัคนปกติ[1], [2], [3] การใชภ้าพเคล่อืนไหว 3 มติิ
เพอื่แสดงทา่มอืนชี้ว่ยทาํใหก้ารเรยีนรภู้าษามอืเปน็ไปไดอ้ยา่งมี
ประสิทธิภาพ เพราะผู้ใช้สามารถปรับเลือกมุมที่ต้องการดู
ยอ่ขยายขนาดของโมเดล หรือจะดกู่คีรงั้กไ็ดต้ามความพอใจ
นัทธ์นทีและคณะ [4] ได้นำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์
กราฟิกมาประยุกต์ใช้ในการสร้างพจนานุกรมภาษามือไทย
3 มิติ ซึ่งผู้ใช้สามารถเพิ่มและแก้ไขคำศัพท์เองได้ และยัง
สามารถนาํคำศพัทภ์าษามอืทอี่ยใู่นรปูแบบของภาพเคล่อืนไหว
3 มติมิาเรียงตอ่กนัไดอ้ยา่งตอ่เน่อืง ซงึ่ผลลพัธข์องงานวจิยันี้
ทำให้บุคคลทั่วไปที่ต้องการเรียนภาษามือสามารถเรียนรู้
ภาษามือเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ณัฐดนัยและคณะได้พัฒนาระบบแปลภาษาไทยเป็นภาษา
มือไทย 3 มิติแบบใช้กฎไวยากรณ์(Rule-based Machine
Translation) [5] โดยนาํพจนานกุรมภาษามอืไทยสามมติทิไี่ด้
กล่าวไปในข้างต้นมาประยุกต์ใช้เป็นฐานข้อมูลคำศัพท์
จดุเดน่ของงานวจิยันคี้อืสามารถแปลประโยคภาษาไทยไปเปน็
ประโยคภาษามอืทอี่ยใู่นรปูแบบภาพเคล่อืนไหวสามมติทิใี่ชไ้ด้
จริงในชีวิตประจำวันของคนหูหนวกได้ แต่อย่างไรก็ตาม
ประโยคทสี่ามารถแปลไดใ้นงานวจิยันยี้งัถกูจาํกดัอยใู่นขอบเขต
แคบๆ เนื่องจากจำนวนคำศัพท์ของภาษามือที่บันทึกไว้ใน
พจนานกุรมยงัมจีาํนวนน้อย ซงึ่สาเหตสุาํคัญทที่าํใหก้ารสรา้ง
ภาพเคล่อืนไหวสามมติขิองภาษามอืไทยเปน็ไปดว้ยความยาก
ลาํบากและตอ้งใชเ้วลากค็อืจาํนวนคาํศพัท์ของภาษามอืซงึ่มี
อยเู่ปน็จาํนวนมาก [6] และแตล่ะคาํมกีารเคล่อืนไหวทซี่บัซอ้น
จากปัญหาดังที่ได้กล่าวไปนี้จึงทำให้เกิดแนวคิดที่จะนำ
หลักการการสร้างภาพกราฟิกด้วยการวาดภาพในพิกัด 2 มิติ
(Sketching-based) มาประยุกต์ใช้ในการสร้างและกำหนด
การเคล่อืนไหวของแขนซงึ่เปน็องคป์ระกอบสาํคญัในการกาํหนด
ปทีี่8 ฉบบัที่2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2555
Vol.8, No.2, July - December 2012
บทคัดย่อ
งานวจิยันจี้ะนาํเสนอเครอื่งมอืชว่ยสรา้งพจนานกุรมภาษามอื
ไทยสามมติิซงึ่เครอื่งมอืทพี่ฒันาขนึ้ในงานวจิยันจี้ะใชห้ลกัการ
การร่างภาพ และนำหลักการกลศาสตร์แบบย้อนกลับมา
ประยุกต์ใช้เพื่อช่วยลดระยะเวลาในการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ของภาษามอืนอกจากนนั้งานวจิยันยี้งัไดน้าํเสนอเทคนคิการ
กาํหนดจาํนวนคยีเ์ฟรมทมี่ปีระสทิธภิาพสงูด้วยการวาดกราฟ
เส้นโค้ง ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าระบบที่พัฒนาขึ้นใน
งานวจิยันมี้ปีระสทิธภิาพสงู
คำสำคญั: ภาษามอื, การสรา้งภาพเคล่อืนไหวดว้ยการา่งภาพ
Abstract
This research presents a tool for building the 3D Thai Sign
Language Dictionary. In order to reduce time in adding or editing
the vocabulary, we developed a convenient tool based on
sketching and applied Inverse Kinematics to help users create
the vocabulary in a short period of time. In addition, we
proposed an effective technique to calculate the number of
frames between a pair of key frames by drawing a curve. The
experiments showed that the proposed system is effective.
Keyword: Sign language, Sketching-based animation.
1. บทนำ
ปัจจุบันมีความพยายามที่จะนำคอมพิวเตอร์กราฟิกมา
ประยกุตใ์ชใ้นการสรา้งภาพเคล่อืนไหว 3 มติขิองทา่มอืเพอื่ชว่ย
ในการเรียนการสอนภาษามือและการติดต่อสื่อสารระหว่าง
* กลุ่มวิจัยการจำลองทางคอมพิวเตอร์และการคำนวณ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. บทความวิจัย : เครื่องมือวาดภาพ 2 มิติโดยใช้การร่างภาพสำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวของภาษามือ
q (1)
ö
æ -
ö
P
tan tan 1 cos
p a
y
P P
= - - -
ö
æ -
1 cos
วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ 21
Information Technology Journal
ท่าทางของภาษามือ ซึ่งเทคโนโลยีการสร้างภาพ 3 มิติโดย
การวาดภาพในระบบพิกัด 2 มิตินี้ได้รับการพัฒนามาอย่าง
ต่อเนื่อง จุดเด่นของเทคโนโลยีนี้ก็คือ ผู้ใช้สามารถออกแบบ
โมเดล3 มิติได้อย่างรวดเร็วและสามารถดัดแปลงแก้ไขรูปทรง
ทตี่อ้งการไดโ้ดยงา่ยและมปีระสทิธภิาพ [7], [8], [9], [10]
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการนำหลักการการวาดภาพ
2 มิติมาประยุกต์ใช้นี้ก็คือ สามารถช่วยให้การสร้างภาพ
เคล่อืนไหวสามมติขิองภาษามอืเปน็ไปไดอ้ยา่งมปีระสทิธภิาพ
เสมือนกับว่าผู้ใช้กำลังสร้างภาพเคลื่อนไหวสามมิติบนแผ่น
กระดาษโดยใช้เพียงดินสอและยางลบเท่านั้น นอกจากนั้น
ประสิทธิผลของงานวิจัยนี้ยังเชื่อมโยงไปถึงประสิทธิภาพใน
การแปลภาษาไทยเป็นภาษามือ หรือจากภาษามือเป็น
ภาษาไทย ซึ่งจำเป็นต้องใช้คำศัพท์ภาษามือจำนวนมากได้
อีกด้วย
2. งานและทฤษฎีทเี่กยี่วขอ้ง
2.1 การรู้จำรูปทรงเรขาคณิต
รูปทรงเรขาคณิตพื้นฐานในพิกัด 2 มิติที่จะนำมาใช้ใน
งานวจิยัน้มีทีงั้หมด 3 รปูแบบคอืเสน้ตรง รปูสเี่หล่ยีม และรปู
วงกลม การรจู้าํรปูทรงพนื้ฐานเหลา่นจี้ะนาํหลกัการการรจู้าํรปู
ทรงเรขาคณติทมี่คีณุสมบตัแิบบ Convex Hull [11] รปูทรง
เรขาคณิตพื้นฐานที่ได้จากการวาดภาพและผลลัพธ์ที่ได้จาก
การรจู้าํสามารถแสดงไดด้งัภาพที่1
ภาพที่1 ตวัอยา่งรปูทรงเรขาคณติทใี่ช้ในงานวจิยันี้
2.2 กลศาสตร์แบบย้อนกลับ(Inverse kinematics)
กลศาสตร์แบบย้อนกลับเป็นหลักการที่นำมาช่วยในการ
คำนวณหามุมของข้อต่อในตำแหน่งหัวไหล่และข้อศอก
ซึ่งมุมของหัวไหล่และข้อศอกจะถูกคำนวณให้โดยอัตโนมัติ
เพยีงแค่รตู้าํแหน่งปลายของขอ้มอืเทา่นั้น [12]
ปทีี่8 ฉบบัที่2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2555
Vol.8, No.2, July - December 2012
ภาพที่2 การคาํนวณหามมุของหวัไหลแ่ละขอ้ศอก
ถ้ากำหนดให้ (px, py, pz)T คือตำแหน่งของข้อมือ l1 คือ
ความยาวของแขนท่อนบน l2 คือความยาวของแขนท่อนล่าง
มุม q1 และ q2 คอืมมุทใี่ชก้าํหนดท่าของหัวไหล่q3 มมุคือมมุที่
แขนสว่นบนกระทาํกบัแขนสว่นลา่งดงัภาพที่2
จากรปูเราสามารถคำนวณหามุมตา่งๆ ไดด้งันี้
ö
÷ ÷
ø
- æ =
ç ç
è
Px
Pz
tan 1
1
÷ ÷
ø
ç ç
è
±
÷ ÷
ø
æ
ç ç
è
+
a
q
cos
2
2
1
2 2
1
2
x z
(2)
÷ ÷
ø
ç ç
è
= ± -
b
b
q p
cos
tan
2
1
3 (3)
3. การสรา้งภาพเคลอื่นไหวด้วยคยีเ์ฟรม
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคีย์เฟรมเป็นหลักการที่นิยม
ใชก้นัอยา่งแพรห่ลายในการสรา้งภาพเคล่อืนไหว ซ่งึคียเ์ฟรม
ก็คอืเฟรมที่ใช้กำหนดรายละเอียดการเคลื่อนไหวของโมเดล
นนั้ๆ โดยจะกาํหนดขอ้มลูการเคล่อืนไหวของมมุของขอ้ตอ่ของ
โมเดลลงในคยีเ์ฟรมตน้ทางและคยีเ์ฟรมปลายทางเพยีงเทา่นนั้
สำหรบัข้อมลูการเคล่อืนไหวในเฟรมอนื่ๆระหวา่ง 2 คยีเ์ฟรมนี้
จะถกูคาํนวณใหโ้ดยอตัโนมตัิโดยทผี่ใู้ชไ้มม่คีวามจาํเปน็ตอ้ง
กาํหนดการเคล่อืนไหวเอง [12]
3.1 ขนั้ตอนวธิกีารสรา้งโมเดล2 มติิและการสรา้งคยีเ์ฟรม
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยการวาดภาพในงานวิจัยนี้มี
ขนั้ตอนวธิดีังตอ่ไปนี้
6. บทความวิจัย : เครื่องมือวาดภาพ 2 มิติโดยใช้การร่างภาพสำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวของภาษามือ
วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ 25
Information Technology Journal
ดว้ยกราฟเสน้โค้งซงึ่ชว่ยใหผ้ใู้ชส้ามารถกาํหนดความเรว็ของ
ภาพเคลื่อนไหวในแต่ละช่วงของคีย์เฟรมได้โดยง่ายและมี
ประสิทธิภาพ
นอกจากนนั้ในมมุมองของการแปลภาษาดว้ยคอมพวิเตอร์
แบบใชก้ฎ จาํนวนคำศพัทท์บี่นัทึกไวใ้นพจนานกุรมภาษาตน้
ทางและปลายทางจะมผีลกระทบโดยตรงตอ่ประสทิธภิาพในการแปล
ดงันนั้ระบบทพี่ฒันาขนึ้นนี้อกจากจะชว่ยใหก้ารสรา้งพจนานกุรม
ภาษามือไทย 3 มิติเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังจะ
เชอื่มโยงไปถงึประสทิธภิาพในการแปลจากภาษาไทยเปน็ภาษามอื
หรือจากภาษามือเป็นภาษาไทยได้อีกด้วย
6. เอกสารอ้างอิง
[1] S. Yeates, E.J. Holden, and R. Owens, “An Animated
Auslan Tuition System,” in International Journal of
Machine Graphics and Vision, Vol. 12, No. 2,
pp. 203-214, 2003.
[2] Xu Lin, Gao Wen, “Human-Computer Chinese Sign
Language Interaction System,” Human-Computer
Chinese Sign Language Interaction System, Vol.4,
No.3 ,2000.
[3] Hirohiko Sagawa, Masaru Takeuchi, “A Teaching System
of Japanese Sign Language Using Sign Language
Recognition and Generation,” Proceedings of the tenth
ACM international conference on Multimedia,
Juan-les-Pins, France, pp. 137–145, 2002.
[4] N. Maneerat, N. Tiangtae, “Development of Tools
for Building the 3D Thai Sign Language Dictionary,”
Proceedings of the 6th International Joint Conference
on Computer Science and Software Engineering (JCSSE
2009), Phuket, Thailand, pp. 27-32, May 2009.
ปทีี่8 ฉบบัที่2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2555
Vol.8, No.2, July - December 2012
[5] N. Homkong, N. Maneerat, N. Tiangtae, “Development
of Thai–3D Thai Sign Language Machine Translation
System,” Proceeding of the 2nd ECTI-Conference on
Application Research and Development, Pattaya,
Thailand, pp. 111-116, May 2010.
[6] คณะวิจัยภาษามือไทย, ปทานุกรมภาษามือไทย ฉบับ
ปรับปรุงและขยายเพิ่มเติม, สมาคมคนหูหนวกแห่ง
ประเทศไทย (ส.ห.ท.), เล่ม 1 -2, กรุงเทพฯ, 2533.
[7] R.C. Zeleznik, K.P. Herndon, J.F. Hughes, “SKETCH:
An interface for sketching 3D scenes,” SIGGRAPH’96.
[8] T. Igarashi, S. Matsuoka, H. Tanaka, “Teddy: A
Sketching Interface for 3D Freeform Design,”
SIGGRAPH’99.
[9] V. Kraevoy, A. Sheffer, Michiel van de Panne.,
“Modeling from Contour Drawings,” EUROGRAPHICS
Symposium on Sketch-Based Interfaces and
Modeling, 2009.
[10] J. LaViola, R. Zeleznik, “MathPad2, A System for the
Creation and Exploration of Mathematical Sketches,”
ACM Transactions on Graphics, 23(3), pp. 423-440,
August, 2004.
[11] A. Apte, V. Vo, T.D. Kimura, “Recognizing Multistroke
Geometric Shapes: An Experimental Evaluation,”
Proceedings of ACM conference on User Interface and
Software Technology (UIST), pp. 121-128, 1993.
[12] Nik Lever, Real-time 3D Character Animation with
Visual C++, Focal Press, 2002.