ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและ
ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น
(Topologies and LAN Components)
 โทโพโลยีเป็ นการเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างโหนดในลักษณะเชิงกายภาพ โดย
โทโพโลยียังสามารถแบ่งออกเป็ น 4 รูปแบบด้วยกันคือ
 โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology)
 โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology)
 โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
 โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)
 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 1.โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology)
 ลักษณะทางกายภาพของโทโพโลยีแบบบัสนั้น จัดเป็ นรูปแบบที่ง่าย ซึ่ง
ประกอบด้วยสายเคเบิลเส้นหนึ่งทีนามาใช้เป็ นสายแกนหลักที่เปรียบเสมือนเป็ นกระดูกสันหลัง
(Backbone) โดยทุก ๆ โหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับสายเส้นนี้ จึงแลดูเหมือนกับ
ราวที่มีไว้แขวนเสื้อผ้า
 ข้อดี
 มีรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย
 เพิ่มจานวนโหนดได้ง่าย โดยสามารถเชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักได้ทันที
 ประหยัดสายสื่อสาร เนื่องจากใช้สายแกนหลักเพียงเส้นเดียว
 ข้อเสีย
 หากสายเคเบิลที่เป็ นสายแกนหลักเกิดชารุดหรือขาด เครือข่ายจะหยุดชะงัก
ในทันที
 กรณีเกิดข้อผิดพลาดบนเครือข่าย จะค้นหาจุดผิดพลาดยาก เนื่องจากทุก
อุปกรณ์ต่างก็เชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักทั้งหมด
 ระหว่างโหนดแต่ละโหนดจะต้องมีระยะห่างตามข้อกาหนด
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
 2.โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology)
 ในความเป็ นจริงโทโพโลยีแบบดาวนั้น มีจุดเริ่มต้นจากการเชื่อมต่อเทอร์มินัลกับ
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โดยเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลาง และเทอร์มินัลทุกเครื่องจะ
เชื่อมต่อเข้ากับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์
 แต่ในยุคปัจจุบัน อุปกรณ์ที่นิยมนามาใช้เป็ นศูนย์กลางควบคุมของสายสื่อสารทั้งหมด
ก็คือ ฮับ (Hub) โดยทุก ๆ โหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงสายสื่อสารผ่านฮับทั้งสิ้น ซึ่งฮับจะทา
หน้าที่รับข้อมูลจากผู้ส่ง เพื่อส่งไปยังโหนดปลายทางที่ต้องการ
 ข้อดี
 มีความคงทนสูง กล่าวคือหากสายเคเบิลบางโหนดเกิดชารุดหรือขาด จะส่งผลต่อโหนด
นั้นเท่านั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม โหนดอื่น ๆ ยังคงใช้งานได้ตามปกติ
 ข้อเสีย
 สิ้นเปลืองสายเคเบิล ซึ่งต้องใช้จานวนสายเท่ากับจานวนเครื่องที่เชื่อมต่อ
 เนื่องจากมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ หากฮับเกิดชารุดใช้งานไม่ได้ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ
เข้ากับฮับดังกล่าวก็จะใช้งานไม่ได้ทั้งหมด
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
 3.โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
 การเชื่อมต่อแบบวงแหวนนั้น โหนดต่าง ๆ จะมีการเชื่อมต่อกันด้วย
สายสัญญาณจากฆนดหนึ่งไปยังโหนดหนึ่งต่อกันไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งโหนดแรกและโหนด
สุดท้ายได้เชื่อมโยงถึงกัน จึงเกิดเป็ นลูปวงกลมหรือวงแหวนขึ้นมา
 ข้อดี
 แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสส่งข้อมูลได้เท่าเทียมกัน
 ประหยัดสายสัญญาณ โดยจะใช้สายสัญญาณเท่ากับจานวนโหนดที่เชื่อมต่อ
 ง่ายต่อการติดตั้งและการเพิ่ม/ลบจานวนโหนด
 ข้อเสีย
 หากวงแหวนชารุดหรือขาด จะส่งผลกระทบต่อระบบทั้งหมด
 ตรวจสอบได้ยาก ในกรณีที่มีโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดข้อขัดข้อง เนื่องจาก
ต้องตรวสอบทีละจุดว่าเกิดข้อขัดข้องอย่างไร
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
 4.โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)
 การเชื่อมต่อเครือข่ายด้วยโทโพโลยีแบบเมช จัดเป็ นการเชื่อมต่อแบบ
จุดต่อจุดอย่างแท้จริง ที่แต่ละโหนดจะมีลิงก์สื่อสารระหว่างกันเป็ นของตนเอง
 ข้อดี
 เนื่องจากเป็ นการเชื่อมต่อกันโดยตรงระหว่างโหนด ดังนั้นแบนด์วิดธ์บน
สายสื่อสารสามารถนามาใช้ได้อย่างเต็มที่ ไม่มีโหนดใดมาแชร์ใช้งาน
 มีความปลอดภัย และความเป็ นส่วนตัวในข้อมูลที่สื่อสารกันระหว่าง
โหนด
 ระบบมีความทนทานต่อความผิดพลาด (Fault-Tolerant) เนื่องจากหาก
มีลิงก์ใดชารุดเสียหาย ก็สามารถเลี่ยงไปใช้งานลิงก์อื่นทดแทนได้
 ข้อเสีย
 เป็ นรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายที่สิ้นเปลืองสายสื่อสารมากที่สุด
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
 การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใช้งาน จาเป็ นต้องมีส่วนประกอบ
หลายส่วนด้วยกันเพื่อให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกันสามารถสื่อสาร
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ โดยส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่นประกอบด้วย
 เครื่องศูนย์บริการ (Servers)
 เครื่องลูกข่าย (Clients/Workstation)
 การ์ดเครือข่าย (Network Interface Cards)
 สายเคเบิล (Network Cables)
 อุปกรณ์ฮับ (Network Hubs)
 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System)
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 1.เครื่องศูนย์บริการข้อมูล (Servers)
 เครื่องศูนย์บริการข้อมูล มักเรียกว่าเครื่อง เซิร์ฟเวอร์ เป็ นคอมพิวเตอร์
ที่ทาหน้าที่บริการทรัพยากรให้กับเครื่องลูกข่ายบนเครือข่าย เช่น บริการไฟล์ (File
Server) บริการงานพิมพ์ (Print Server) เป็ นต้น เครื่องเซิร์ฟเวอร์อาจเป็ นคอมพิวเตอร์
ระดับเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้ โดยคอมพิวเตอร์ที่
ออกแบบมาเพื่อใช้งานเป็ นเซิร์ฟเวอร์นี้มักมีสมรรถนะสูง เนื่องจากถูกออกแบบมาเพื่อ
ทนทานต่อความผิดพลาด (Fault Tolerance) และทางานหนักด้วยการรองรับงานตลอด
24 ชั่วโมง ดังนั้นเครื่องเซิร์ฟเวอร์จึงมีราคาที่สูงมากเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน
ทั่วไป อย่างไรก็ตาม การเชื่อมต่อเครือข่ายยังสามารถพิจารณาจากขนาดของเครือข่าย
ที่ใช้งาน ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับงบประมาณการติดตั้งด้วย
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
 2.เครื่องลูกข่าย (Clients/Workstation)
 เครื่องลูกข่ายเป็ นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย สาหรับ
เครือข่ายแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ เครื่องลูกข่ายจะต้องล็อกออนเข้าระบบเพื่อติดต่อ
กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้ได้ก่อน จึงสามารถขอใช้บริการทรัพยากรจากเซิร์ฟเวอร์ได้
อย่างไรก็ตาม เครื่องลูกข่ายอาจเป็ นคอมพิวเตอร์ที่ไม่จาเป็ นต้องมีสมรรถนะสูง ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเป็ นพีซีคอมพิวเตอร์ทั่วไป แต่ในกรณีที่เป็ นการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเพียร์ทู
เพียร์ คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายสามารถเป็ นได้ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอนต์ใน
ขณะเดียวกัน
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
 3.การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card: NIC)
 การ์ดเครือข่ายเป็ นแผงวงจรที่ติดตั้งอยู่ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งเครื่อง
เซิร์ฟเวอร์และเครื่องลูกข่าย หน้าที่สาคัญของการ์ดเครือข่ายก็คือ จะใช้เชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เข้ากับสายเคเบิลเครือข่าย และถือเป็ นส่วนหนึ่งของการเชื่อมต่อทาง
กายภาพบนชั้นสื่อสารฟิ สิคัล ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่ได้บรรจุพอร์ตเครือข่ายชนิด RJ-45 ลงบนบอร์ด
มาให้เบ็ดเสร็จ แต่สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีการ์ดเครือข่าย ก็สามารถใช้
แผงวงจรเครือข่ายติดตั้งลงในเครื่องเพิ่มเติมได้
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
 4.สายเคเบิล (Network Cables)
 คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายจะสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายได้ จาเป็ นต้องมีสาย
เคเบิลที่ใช้ลาเลียงสัญญาณไฟฟ้ าจากต้นทางไปยังปลายทาง เครือข่ายส่วนใหญ่ในปัจจุบันมักใช้
สาย UTP เนื่องจากมีราคาถูก แต่หากต้องการเชื่อมโยงระยะไกลโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ทวน
สัญญาณ ก็จะต้องใช้สายไฟเบอร์ออปติกเนื่องจากสามารถเชื่อมโยงได้ไกลเป็ นกิโลเมตร ในขณะที่
สาย UTP เชื่อมโยงได้ไกลสุดเพียง 100 เมตรเท่านั้น นอกจากสายเคเบิลแล้ว ก็ยังสามารถใช้
คลื่นวิทยุในการสื่อสารได้ ซึ่งถือเป็ นทางเลือกหนึ่งที่สร้างความสะดวกในการเชื่อมต่อเครือข่ายแลน
แบบไร้สาย
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
 5.อุปกรณ์ฮับ (Network Hubs)
 ฮับที่นามาใช้งานบนเครือข่ายมีจุดประสงค์อยู่ 2 ประการด้วยกันคือ ประการ
แรกเป็นศูนย์รวมของสายเคเบิลทั้งหมดที่จะต้องนามาเสียบเข้ากับพอร์ดบนฮับ ซึ่งปกติฮับจะมี
จานวนพอร์ตให้เลือกใช้งานั้งแต่ 4, 8, 16 และ 24 พอร์ต โดยปกติจะเป็นพอร์ตชนิด RJ-45 ที่
ใช้งานกับสาย UTP แต่ก็มีฮับบางรุ่นที่มีพอร์ตชนิดอื่นเตรียมไว้เพื่อการเชื่อมต่อสายเคเบิล
ประเภทอื่น ๆ ที่นอกจากสาย UTP เช่น สายโคแอกเชียบหรือสายไฟเบอร์ออปติก เป็นต้น
ส่วนจุดประสงค์ประการที่สองก็คือ ฮับจะนามาใช้เป็นอุปกรณืทวนสัญญาณ (Repeater) ซึ่งโดย
ธรรมชาติแล้วสัญญาณไฟฟ้ าทีส่งผ่านสื่อกลาง จะถูกลดทอนลงเมื่อมีการส่งไปในระยะไกล ๆ
ดังนั้นฮับจึงนามาใช้เพื่อเป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณ เพื่อให้สัญญาณสามารถส่งทอดออกไปไกล
ได้อีก แต่ทั้งนี้การส่งสัญญาณฮับจะส่งกระจายไปยังพอร์ตทุกพอร์ตที่เชื่อมต่อ
 6.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System: NOS)
 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายคือซอฟต์แวร์ที่นามาใช้สาหรับควบคุม
เครือข่าย ปกติแล้วชุดระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะมีอยู่ 2 ชุดด้วยกัน โดยชุดแรกคือ
กลุ่มซอฟต์แวร์ที่นามาใช้บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และชุดที่สองคือกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่
นามาใช้บนเครื่องไคลเอนต์ ที่นามาใช้เพื่อให้เครื่องลูกข่ายสามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์ได้
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการเครือข่ย เช่น Novell NetWare, Windows 2000 Server,
Windows Server 2003, Unix, Linix
อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
 ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)

More Related Content

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 2

  • 2.  โทโพโลยีเป็ นการเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างโหนดในลักษณะเชิงกายภาพ โดย โทโพโลยียังสามารถแบ่งออกเป็ น 4 รูปแบบด้วยกันคือ  โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology)  โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology)  โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)  โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
  • 3.  1.โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology)  ลักษณะทางกายภาพของโทโพโลยีแบบบัสนั้น จัดเป็ นรูปแบบที่ง่าย ซึ่ง ประกอบด้วยสายเคเบิลเส้นหนึ่งทีนามาใช้เป็ นสายแกนหลักที่เปรียบเสมือนเป็ นกระดูกสันหลัง (Backbone) โดยทุก ๆ โหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมต่อเข้ากับสายเส้นนี้ จึงแลดูเหมือนกับ ราวที่มีไว้แขวนเสื้อผ้า  ข้อดี  มีรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย  เพิ่มจานวนโหนดได้ง่าย โดยสามารถเชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักได้ทันที  ประหยัดสายสื่อสาร เนื่องจากใช้สายแกนหลักเพียงเส้นเดียว  ข้อเสีย  หากสายเคเบิลที่เป็ นสายแกนหลักเกิดชารุดหรือขาด เครือข่ายจะหยุดชะงัก ในทันที  กรณีเกิดข้อผิดพลาดบนเครือข่าย จะค้นหาจุดผิดพลาดยาก เนื่องจากทุก อุปกรณ์ต่างก็เชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักทั้งหมด  ระหว่างโหนดแต่ละโหนดจะต้องมีระยะห่างตามข้อกาหนด อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
  • 4.  2.โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology)  ในความเป็ นจริงโทโพโลยีแบบดาวนั้น มีจุดเริ่มต้นจากการเชื่อมต่อเทอร์มินัลกับ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โดยเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลาง และเทอร์มินัลทุกเครื่องจะ เชื่อมต่อเข้ากับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์  แต่ในยุคปัจจุบัน อุปกรณ์ที่นิยมนามาใช้เป็ นศูนย์กลางควบคุมของสายสื่อสารทั้งหมด ก็คือ ฮับ (Hub) โดยทุก ๆ โหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงสายสื่อสารผ่านฮับทั้งสิ้น ซึ่งฮับจะทา หน้าที่รับข้อมูลจากผู้ส่ง เพื่อส่งไปยังโหนดปลายทางที่ต้องการ  ข้อดี  มีความคงทนสูง กล่าวคือหากสายเคเบิลบางโหนดเกิดชารุดหรือขาด จะส่งผลต่อโหนด นั้นเท่านั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม โหนดอื่น ๆ ยังคงใช้งานได้ตามปกติ  ข้อเสีย  สิ้นเปลืองสายเคเบิล ซึ่งต้องใช้จานวนสายเท่ากับจานวนเครื่องที่เชื่อมต่อ  เนื่องจากมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ หากฮับเกิดชารุดใช้งานไม่ได้ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ เข้ากับฮับดังกล่าวก็จะใช้งานไม่ได้ทั้งหมด อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
  • 5.  3.โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)  การเชื่อมต่อแบบวงแหวนนั้น โหนดต่าง ๆ จะมีการเชื่อมต่อกันด้วย สายสัญญาณจากฆนดหนึ่งไปยังโหนดหนึ่งต่อกันไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งโหนดแรกและโหนด สุดท้ายได้เชื่อมโยงถึงกัน จึงเกิดเป็ นลูปวงกลมหรือวงแหวนขึ้นมา  ข้อดี  แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสส่งข้อมูลได้เท่าเทียมกัน  ประหยัดสายสัญญาณ โดยจะใช้สายสัญญาณเท่ากับจานวนโหนดที่เชื่อมต่อ  ง่ายต่อการติดตั้งและการเพิ่ม/ลบจานวนโหนด  ข้อเสีย  หากวงแหวนชารุดหรือขาด จะส่งผลกระทบต่อระบบทั้งหมด  ตรวจสอบได้ยาก ในกรณีที่มีโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดข้อขัดข้อง เนื่องจาก ต้องตรวสอบทีละจุดว่าเกิดข้อขัดข้องอย่างไร อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
  • 6.  4.โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)  การเชื่อมต่อเครือข่ายด้วยโทโพโลยีแบบเมช จัดเป็ นการเชื่อมต่อแบบ จุดต่อจุดอย่างแท้จริง ที่แต่ละโหนดจะมีลิงก์สื่อสารระหว่างกันเป็ นของตนเอง  ข้อดี  เนื่องจากเป็ นการเชื่อมต่อกันโดยตรงระหว่างโหนด ดังนั้นแบนด์วิดธ์บน สายสื่อสารสามารถนามาใช้ได้อย่างเต็มที่ ไม่มีโหนดใดมาแชร์ใช้งาน  มีความปลอดภัย และความเป็ นส่วนตัวในข้อมูลที่สื่อสารกันระหว่าง โหนด  ระบบมีความทนทานต่อความผิดพลาด (Fault-Tolerant) เนื่องจากหาก มีลิงก์ใดชารุดเสียหาย ก็สามารถเลี่ยงไปใช้งานลิงก์อื่นทดแทนได้  ข้อเสีย  เป็ นรูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายที่สิ้นเปลืองสายสื่อสารมากที่สุด อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)
  • 7.  การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใช้งาน จาเป็ นต้องมีส่วนประกอบ หลายส่วนด้วยกันเพื่อให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อกันสามารถสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ โดยส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่นประกอบด้วย  เครื่องศูนย์บริการ (Servers)  เครื่องลูกข่าย (Clients/Workstation)  การ์ดเครือข่าย (Network Interface Cards)  สายเคเบิล (Network Cables)  อุปกรณ์ฮับ (Network Hubs)  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System)  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components) อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15
  • 8.  1.เครื่องศูนย์บริการข้อมูล (Servers)  เครื่องศูนย์บริการข้อมูล มักเรียกว่าเครื่อง เซิร์ฟเวอร์ เป็ นคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่บริการทรัพยากรให้กับเครื่องลูกข่ายบนเครือข่าย เช่น บริการไฟล์ (File Server) บริการงานพิมพ์ (Print Server) เป็ นต้น เครื่องเซิร์ฟเวอร์อาจเป็ นคอมพิวเตอร์ ระดับเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้ โดยคอมพิวเตอร์ที่ ออกแบบมาเพื่อใช้งานเป็ นเซิร์ฟเวอร์นี้มักมีสมรรถนะสูง เนื่องจากถูกออกแบบมาเพื่อ ทนทานต่อความผิดพลาด (Fault Tolerance) และทางานหนักด้วยการรองรับงานตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นเครื่องเซิร์ฟเวอร์จึงมีราคาที่สูงมากเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ทั่วไป อย่างไรก็ตาม การเชื่อมต่อเครือข่ายยังสามารถพิจารณาจากขนาดของเครือข่าย ที่ใช้งาน ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับงบประมาณการติดตั้งด้วย อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
  • 9.  2.เครื่องลูกข่าย (Clients/Workstation)  เครื่องลูกข่ายเป็ นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย สาหรับ เครือข่ายแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ เครื่องลูกข่ายจะต้องล็อกออนเข้าระบบเพื่อติดต่อ กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้ได้ก่อน จึงสามารถขอใช้บริการทรัพยากรจากเซิร์ฟเวอร์ได้ อย่างไรก็ตาม เครื่องลูกข่ายอาจเป็ นคอมพิวเตอร์ที่ไม่จาเป็ นต้องมีสมรรถนะสูง ซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็ นพีซีคอมพิวเตอร์ทั่วไป แต่ในกรณีที่เป็ นการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเพียร์ทู เพียร์ คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายสามารถเป็ นได้ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอนต์ใน ขณะเดียวกัน อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
  • 10.  3.การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card: NIC)  การ์ดเครือข่ายเป็ นแผงวงจรที่ติดตั้งอยู่ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งเครื่อง เซิร์ฟเวอร์และเครื่องลูกข่าย หน้าที่สาคัญของการ์ดเครือข่ายก็คือ จะใช้เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เข้ากับสายเคเบิลเครือข่าย และถือเป็ นส่วนหนึ่งของการเชื่อมต่อทาง กายภาพบนชั้นสื่อสารฟิ สิคัล ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่ได้บรรจุพอร์ตเครือข่ายชนิด RJ-45 ลงบนบอร์ด มาให้เบ็ดเสร็จ แต่สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีการ์ดเครือข่าย ก็สามารถใช้ แผงวงจรเครือข่ายติดตั้งลงในเครื่องเพิ่มเติมได้ อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
  • 11.  4.สายเคเบิล (Network Cables)  คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายจะสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายได้ จาเป็ นต้องมีสาย เคเบิลที่ใช้ลาเลียงสัญญาณไฟฟ้ าจากต้นทางไปยังปลายทาง เครือข่ายส่วนใหญ่ในปัจจุบันมักใช้ สาย UTP เนื่องจากมีราคาถูก แต่หากต้องการเชื่อมโยงระยะไกลโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ทวน สัญญาณ ก็จะต้องใช้สายไฟเบอร์ออปติกเนื่องจากสามารถเชื่อมโยงได้ไกลเป็ นกิโลเมตร ในขณะที่ สาย UTP เชื่อมโยงได้ไกลสุดเพียง 100 เมตรเท่านั้น นอกจากสายเคเบิลแล้ว ก็ยังสามารถใช้ คลื่นวิทยุในการสื่อสารได้ ซึ่งถือเป็ นทางเลือกหนึ่งที่สร้างความสะดวกในการเชื่อมต่อเครือข่ายแลน แบบไร้สาย อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)
  • 12. อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)  5.อุปกรณ์ฮับ (Network Hubs)  ฮับที่นามาใช้งานบนเครือข่ายมีจุดประสงค์อยู่ 2 ประการด้วยกันคือ ประการ แรกเป็นศูนย์รวมของสายเคเบิลทั้งหมดที่จะต้องนามาเสียบเข้ากับพอร์ดบนฮับ ซึ่งปกติฮับจะมี จานวนพอร์ตให้เลือกใช้งานั้งแต่ 4, 8, 16 และ 24 พอร์ต โดยปกติจะเป็นพอร์ตชนิด RJ-45 ที่ ใช้งานกับสาย UTP แต่ก็มีฮับบางรุ่นที่มีพอร์ตชนิดอื่นเตรียมไว้เพื่อการเชื่อมต่อสายเคเบิล ประเภทอื่น ๆ ที่นอกจากสาย UTP เช่น สายโคแอกเชียบหรือสายไฟเบอร์ออปติก เป็นต้น ส่วนจุดประสงค์ประการที่สองก็คือ ฮับจะนามาใช้เป็นอุปกรณืทวนสัญญาณ (Repeater) ซึ่งโดย ธรรมชาติแล้วสัญญาณไฟฟ้ าทีส่งผ่านสื่อกลาง จะถูกลดทอนลงเมื่อมีการส่งไปในระยะไกล ๆ ดังนั้นฮับจึงนามาใช้เพื่อเป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณ เพื่อให้สัญญาณสามารถส่งทอดออกไปไกล ได้อีก แต่ทั้งนี้การส่งสัญญาณฮับจะส่งกระจายไปยังพอร์ตทุกพอร์ตที่เชื่อมต่อ
  • 13.  6.ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System: NOS)  ระบบปฏิบัติการเครือข่ายคือซอฟต์แวร์ที่นามาใช้สาหรับควบคุม เครือข่าย ปกติแล้วชุดระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะมีอยู่ 2 ชุดด้วยกัน โดยชุดแรกคือ กลุ่มซอฟต์แวร์ที่นามาใช้บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และชุดที่สองคือกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่ นามาใช้บนเครื่องไคลเอนต์ ที่นามาใช้เพื่อให้เครื่องลูกข่ายสามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์ได้ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการเครือข่ย เช่น Novell NetWare, Windows 2000 Server, Windows Server 2003, Unix, Linix อ้างอิง http://www.skcc.ac.th/elearning/network/?p=15  ส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (LAN Components)