ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ธุรกรรม
อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 2
โครงสร้างพื้นฐานสาหรับ
ระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
2
เนื้อหา
• ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
• โครงสร้างของเครือข่ายและการเติบโตของ
อินเทอร์เน็ต
• โครงสร้างพื้นฐานของระบบธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
• เทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์
Internet
• 1969 USA. used for Research, Scientist
• 1990 Start up to Dot Com fever (E-commerce)
• 1995 E-learning , Large Biz., Portal Web
• 1999 B2C  B2B
• 2001 B2B  B2E, E-government,
M-commerce
• Now PDA, High Speed Internet, Wireless
4
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
• ปัจจุบันมีการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายเน็ตเวิร์คในการ
สื่อสารกันอย่างแพร่หลายในธุรกิจ จนกระทั่งอินเทอร์เน็ตได้
กลายเป็นส่วนสาคัญของระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์โดยอัตโนมัติ
• อย่างไรก็ตามการค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นไม่ได้จากัดอยู่แค่เครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงการใช้เครือข่าย
คอมพิวเตอร์อื่นๆ ในธุรกิจด้วย
5
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
• อินเทอร์เน็ตแตกต่างจากระบบเทคโนโลยีสื่อสารอื่นๆ
ด้วยกัน 2 ประการคือ
– ประการแรก อินเทอร์เน็ตทาให้เกิดการติดต่อ 2
ทิศทาง ระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ทาให้การสื่อสารเป็นไป
อย่างครบวงจร
– ประการที่สอง อินเทอร์เน็ตมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน
ซึ่งทาให้คอมพิวเตอร์ในหลายๆ ระบบสามารถเชื่อมต่อ
และส่งข้อมูลถึงกันได้
6
ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต
• สื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่นิยมใช้กันมาก่อนอินเทอร์เน็ต เช่น โทรศัพท์ หรือ โทรสาร
นั้นต่างมีข้อจากัดทางเทคนิคและ ต้นทุนในการใช้งานสูง
• อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อธุรกิจที่สามารถรองรับการประกอบธุรกรรรมแบบอิเล็กทรอนิกส์
ได้ทุกขั้นตอน นั่นคือ การค้นหาสินค้า การสั่งซื้อ การชาระเงิน และการนาส่งสินค้า
และบริการ
• อินเทอร์เน็ตความหลากหลายและยืดหยุ่น
– ลักษณะธุรกรรมที่มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์กร โดยมีข้อจากัดเรื่องเวลาและ
ระยะทางน้อย
– ลักษณะการสื่อสารแบบสื่อประสม ด้วยต้นทุนที่ต่ากว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ลดข้อจากัดในการ
สื่อสารที่มีอยู่ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบเดิม สามารถนาส่งสินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตหรือผู้ขายถึง
ผู้ซื้อโดยตรงโดยการส่งสัญญาณดิจิตอลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เชื่อหรือไม่ ???
ว่าเราสามารถสั่งซื้อปลาทู
ทางอินเทอร์เน็ตได้
8
โครงสร้างของเครือข่ายและการเติบโตของอินเทอร์เน็ต
• โครงสร้างของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตคือต้นแบบของโครงสร้างแบบ
กระจายที่ครอบคลุมโยงใยไปทั่วโลก ในทางกายภาพเราสามารถแบ่ง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นระดับชั้นได้ โดยในชั้นบนสุดจะมีสายส่ง
ข้อมูลที่เรียกว่า backbone ที่มีความเร็วของการส่งผ่านข้อมูลสูง
มากทาหน้าที่เสมือนเป็นเส้นเลือดใหญ่ของเครือข่าย
• ข้อมูลส่วนใหญ่ที่อยู่ในระบบอินเทอร์เน็ตจะถูกส่งยังจุดเชื่อมต่อ
เครือข่าย หรือ NAPs (Network Access Points) เพื่อส่งผ่าน
ไปยัง backbone โดย NAPs จะกระจายอยู่ตามจุดต่างๆ ทั่วโลก
ซึ่งมีบริษัททางด้านการสื่อสารต่างๆ ดูแลอยู่ เช่น Sprint, MFS,
Teleglobe, PCCW, DACOM เป็นต้น
9
โครงสร้างของเครือข่ายและการเติบโตของอินเทอร์เน็ต
• ในชั้นถัดมาจะเป็นเครือข่ายในระดับประเทศและเชื่อมต่อเข้ากับ Internet ผ่าน
ทาง NAPs เครือข่ายในระดับนี้เป็นจุดที่มีความคับคั่งของของข้อมูลมากและเป็น
สาเหตุทาให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างล่าช้า ผู้ที่รับผิดชอบดูแลเครือข่ายระดับนี้ใน
ประเทศไทยได้แก่ การสื่อสารแห่งประเทศไทย, บ.ทีโอที คอร์ปฯ, เนคเทคหรือ
ไทยสาร และ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตต่างๆ (ISP : Internet Service
Provider) เป็นต้น
• ในชั้นถัดมาจะเป็นเครือข่ายในระดับท้องถิ่น ภูมิภาคหรือระดับจังหวัด เช่น ผู้
ให้บริการอินเทอร์เน็ตในระดับท้องถิ่น ภูมิภาคหรือระดับจังหวัด เป็นต้น แล้วจึง
แยกย่อยเข้าสู่มหาวิทยาลัย โรงเรียน องค์กรธุรกิจ หรือ สถาบันองค์กรต่างๆ
ตลอดจนผู้ใช้งานตามบ้านทั่วไป โดยการเชื่อมต่อของเครือข่ายทั้งหมดนี้จะใช้ชุด
ของโปรโตคอล TCP/IP ซึ่งเป็นข้อตกลงมาตรฐานที่ทาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
สามารถติดต่อกันได้
10
โครงสร้างของเครือข่ายและการเติบโตของอินเทอร์เน็ต
High Speed backbone networks
NAPs
Teleglobe
NAPs
DACOM
NAPs
PCCW
NAPs
Sing Tel
CAT TOT KSC CSLoxinfo
สถาบันการศึกษา องค์กรธุรกิจ ผู้ใช้งานทั่วไป
11
12
โครงสร้างของเครือข่ายและการเติบโตของอินเทอร์เน็ต
• อินเทอร์เน็ตมีการขยายตัวเร็วมาก โดยมีผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตมากกว่า 1,500 ล้านคนทั่วโลก
กลายเป็นระบบเครือข่ายสาหรับธุรกิจและ
ประชาชนทุกคนในโลก
• นาไปสู่โอกาสที่ทาธุรกิจต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตอย่าง
มหาศาล
คอมพิวเตอร์ในระบบอินเทอร์เน็ต
รู้จักกันได้อย่างไร
203.183.233.6
202.100.20.1
โปรโตคอล(Protocol)
คือ กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ใน
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
การทางานของอินเทอร์เน็ต
มีโปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานสาหรับการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ
TCP/IP (Transmission Control
Protocol/Internet Protocol)
PHYSICAL LAYER
PRESENTATION LAYER
DATA LINK LAYER
NETWORK LAYER
TRANSPORT LAYER
SESSION LAYER
APPLICATION LAYER
PHYSICAL LAYER
T C P
I P
ISO/OSI
Model
TCP/IP Suite
โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต
IP Address
หมายเลขประจาเครื่องคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่าย
ซึ่งจะเป็นระบบ 32 บิตหรือสามารถระบุเลขไอพี
ได้ตั้งแต่ 0.0.0.0 ถึง 255.255.255.255
IP address
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครปฐมคือ
202.29.9.81
โดเมนเนม
(Domain name system :DNS)
คือการตั้งชื่อหรือตัวอักษรขึ้นมา
แทนที่ IP address ซึ่งสะดวกใน
การจดจามากกว่า
202.29.9.81
www.npru.ac.th
21
การจองชื่อ Domain Name
• หลักการจดทะเบียนโดเมนเนม ยึดหลักใครจดก่อนได้ก่อน โดยไม่
สนใจว่าชื่อนั้นจะเกี่ยวข้องกับผู้จดทะเบียนแต่อย่างใด
• ปัจจุบัน Network Solution ปล่อยให้เกิดการแข่งขันในการรับจดทะเบียน
โดเมนเนมแล้ว อัตราค่าบริการจึงถูกลง โดยประมาณ 10-25U$ ต่อปี
(400 – 1000 บาทต่อปี)
• กลุ่มของชื่อโดเมนเนมนั้นมีการแบ่งเป็นระดับ ระดับสูงสุด (Top Level)
ซึ่งเป็น Domain Nameที่ Network Solution ได้สิทธิ์ผูกขาด
22
กลุ่มของชื่อโดเมนเนม
• .com Commercial Website
• .net Network , Organization Website
• .mil Military Website
• .gov Government Website
• .edu education or Academic Website
• .org Organization or Privatization web
23
Thailand Domain Name
• ThailandNetwork InformationCenter ; หรือ thnic เป็นผู้ดูแล (www.thnic.com)
• มีค่าใช้จ่ายในการจดโดเมนไทย (.th) 800 บาทต่อปี
• โดเมนไทยกลุ่มย่อย (Secondary Level) ได้แก่
– .co.th เว็บไซต์บริษัทเอกชน
– .go.thเว็บไซต์ของหน่วยงานรัฐบาล ระดับกรมขึ้นไป
– .or.thเว็บไซต์ของภาครัฐระดับต่ากว่ากรม หรือ องค์กรอิสระ
– .ac.th เว็บไซต์ของสถาบันการศึกษาในไทย
หลักการจดของ thnic จะคานึงความสัมพันธ์ของชื่อกับผู้ขอจดชื่อด้วย ด้วยการแสดง
หลักฐานที่เชื่อถือได้ ส่วนการจดโดเมนเนมที่ไม่มีความสัมพันธ์กับชื่อโดเมน thnic
จะให้ใช้ .in.th
24
ความสาคัญของโดเมนเนม
• โดเมนเนมที่คุ้นหูหรือเดาง่ายเป็นที่ต้องการมาก เพราะทาให้ลูกค้า
เข้าถึงเว็บไซต์ที่ต้องการได้
• ทาให้เจ้าของเว็บไซต์ไม่ต้องลงทุนในการโฆษณาชื่อเว็บไซต์มาก
ลูกค้าก็สามารถสุ่มเดาชื่อเข้ามาได้โดยง่าย
• จึงเกิดธุรกิจหากินกับการจองชื่อโดเมนเนมแล้วนามาขายกลับ
– จากหลักการใครจดก่อนได้ก่อน ทาให้มีคนหัวใสจองชื่อเมนไว้แล้วนามา
ขายแก่เจ้าของชื่อในราคาแพง เรียกพวกนี้ว่า Cyber squatter ปัจจุบัน ICANN
ต้องออกมาปกป้องชื่อโดเมนที่มีชื่อเสียงเพื่อป้องกันการกระทาดังกล่าว
และมีการระงับข้อพิพาทโดยการฟ้องคดีกับ WIPO (World Intellectual Property)
เพื่อตัดสินคดีเกี่ยวกับการแย่งสิทธิ์ โดเมนเนม
เว็บไซต์ ชื่อไทย.com
• คือตาแหน่งที่ Web ถูกบรรจุอยู่ในเครือข่าย โดย
มีองค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่
http://www.npru.ac.th/info/history.php
โปรโตคอลที่ใช้ (Protocol)
ติดต่อกับแหล่งที่ต้องการ (Internet Resource)
ติดต่อกับ Web Server ที่ต้องการ
ติดต่อกับ Directory ที่ต้องการ
Object ที่ต้องการ
Universal Resource Location: URL
27
โครงสร้างพื้นฐานของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จะสมบูรณ์ได้ต้องประกอบด้วย
โครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม และองค์ประกอบหลักที่
ครบถ้วน โดยในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานประกอบด้วย
– Telecommunication Infrastructure
– Internet Infrastructure
– Internet Software and Tools
– องค์ประกอบหลักอื่นๆ
28
โครงสร้างพื้นฐานของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• Telecommunication Infrastructure:
โครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคม ควรมีอย่าง
เพียงพอและทั่วถึงในราคาที่ยอมรับได้ เพื่อให้การ
ใช้งานสามารถกระจายออกไปได้ทั่วประเทศ เช่น
โทรศัพท์ ระบบวงจรเช่า ใยแก้วนาแสง และระบบไร้
สาย เป็นต้น
29
โครงสร้างพื้นฐานของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• Internet Infrastructure:
โครงสร้างพื้นฐานทางอินเทอร์เน็ต โดยการใช้บริการจากผู้
ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) ทั้งที่เป็นการใช้บริการแบบ
ส่วนบุคคลและแบบองค์กร ทั้งที่เป็นระบบหมุนโทรศัพท์
ผ่านโมเด็มของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Dial Up
Service) หรือแบบเช่าสายสื่อสาร (Leased Line)
เพื่อให้สมาชิกภายในองค์กรใช้ร่วมกันผ่านเครือข่ายของ
องค์กรเอง
30
โครงสร้างพื้นฐานของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• Internet Software and Tools:
ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสาหรับใช้บน
อินเทอร์เน็ต เช่น HTML, CGI, PERL, Java,
ASP, PHP, และ DHTML เป็นต้น
โปรแกรมต่างๆ เช่น Browser, FTP, Content
Creator หรือ CMS เป็นต้น
31
เทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์
– Browser (โปรแกรมที่ใช้เรียกดูข้อมูลตลอดจนบริการ
ต่างๆ บนเครือข่าย World Wide Web) ที่นิยมใช้
ได้แก่ Internet Explorer, Firefox
– เครื่องมือซอฟต์แวร์ในการสร้างเว็บ
1.Web Authoring Tools เป็นโปรแกรมสร้างเว็บ ช่วยอานวยความสะดวก
ในการสร้างเว็บเพจ ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้โดยมากไม่จาเป็นต้องทราบ
HTML ก็สามารถสร้างเว็บได้ เช่น Frontpage, GoLive, และ Dream
Weaver
2.Visual Programming Tools เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การเขียนโปรแกรม
ทาได้ง่ายยิ่งขึ้น ด้วยลักษณะของ Interface เช่น Delphi, Visual Basic,
และ Visual C++
32
เทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์
– ภาษาในการสร้างเว็บ
1.Markup Language คือ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่
ต้องมีการกาหนด Tag เปิดปิด เพื่อแสดงผลลัพธ์ในลักษณะของ
เว็บเพจ ซึ่งสามารถแสดงผลได้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าเป็น
ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง เช่น HTML,
Dynamic HTML, VRML, SGML, และ XML
2.Scripting คือ ส่วนของโปรแกรมที่แทรกเข้าไป เพื่อประโยชน์
ในการใช้งาน เช่น CGI Script, Java, Java Applet,
JavaScript, VBScript, C++, Perl, และ Active X
33
Web Hosting
• เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่เป็นแหล่งเก็บ
ข้อมูลไฟล์เว็บเพจของแต่ละเว็บไซต์เพื่อให้
เครื่องลูกข่ายเรียกใช้
• การเรียกใช้เว็บไซต์จากเครื่องแม่ข่าย (Host)
สามารถเรียกผ่านโปรแกรมบราวเซอร์ที่ติด
ตั้งอยู่ในเครื่องลูกข่าย (Clients)ที่มีอยู่จานวน
มากด้วยการเรียกเลขที่ IP Address ซึ่งใน
ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย DomainName
Hosting
CS Loxinfo ; Internet Data Center
Control Room Server Farm and Clean Room

More Related Content

บทที่2