ݺߣ
Submit Search
ใบงานที่ 2 8
•
0 likes
•
197 views
Nattichat Thonton
Follow
.
Read less
Read more
1 of 18
Download now
Download to read offline
More Related Content
ใบงานที่ 2 8
1.
นายณัฐนันท์ มณีรัตน์ เลขที่
25 นายธนภัทร ธนะไชย เลขที่ 9 ม.6/11
2.
เป็นการทากิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครู ตั้งแต่การคิดสร้างโครงงาน การวางแผน ดาเนินการ การออกแบบลงมือปฏิบัติ รวมทั้งร่วมกาหนดแนวทางในการวัดผลและการ ประเมินผล ใบงานที่ 2 ความหมายและความสาคัญ ของโครงงาน
3.
ความสาคัญของโครงงาน เสริมสร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
ส่งผลทาให้เกิดความริเริ่ม สร้างสรรค์ในการทาโครงงานใหม่ๆที่จะนาไปสู่โลกของงานอาชีพและการศึกษา อีกทั้ง โครงงานที่ตนเองสนใจยังก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่กว้างขวาง เป็นการประสานงานทาง วิชาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนสานักงานการศึกษาแห่งชาติ ได้พัฒนาตัวบ่งชี้การเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กาหนดตัวบ่งชี้การเรียนของผู้เรียน 9 ข้อและตัวบ่งชี้การ สอนของครู 10 ข้อดังนี้ ใบงานที่ 2 ความหมายและความสาคัญ ของโครงงาน
4.
ตัวบ่งชี้การเรียนของผู้เรียน 1.
ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัดและวิธีการของตนเอง 3. ผู้เรียนทากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม 4. ผู้เรียนฝึกคิดหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ได้แสดงออกอย่างชัดเจนและมีเหตุผล 5. ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นคว้าหาคาตอบ แก้ปัญหาทั้งด้วยตนเองและร่วมกับเพื่อนๆ 6. ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง 7. ผู้เรียนเลือกทากิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจอย่างมีความสุข 8. ผู้เรียนฝึกตนเองให้มีวินัยและมีความรับผิดชอบในการทางาน 9. ผู้เรียนฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น และสนใจใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง ใบงานที่ 2 ความหมายและความสาคัญ ของโครงงาน
5.
ตัวบ่งชี้การสอนของครู 1.
ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ 2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า จูงใจและเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ 3. ครูเอาใจใส่นักเรียนเป็นรายบุคคลและแสดงความเมตตาต่อนักเรียนอย่างทั่วถึง 4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้แสดงออกและคิดอย่างสร้างสรรค์ 5. ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกคิด ฝึกทาและฝึกปรับปรุงตนเอง 6. ครูส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่มสังเกตข้อดีและปรับปรุงข้อด้อยของผู้เรียน 7. ครูใช้สื่อเพื่อฝึกการคิด การแก้ปัญหา และการค้นพบความรู้ 8. ครูให้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อมโยงกับประสบการณ์จริง 9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทและวินัยตามวิถีวัฒนธรรมไทย 10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ใบงานที่ 2 ความหมายและความสาคัญ ของโครงงาน
6.
ขอบข่ายของโครงงาน 1.
เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการ ทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็น มากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็น ภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วย ตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของ โครงงาน
7.
ประเภทของโครงงาน 1.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา เช่น โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้างงาน ส่วนใหญืจะอยู่ในรูปของ ซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของ สาขาต่างๆ 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวัน 5. โครงงานพัฒนาเกม เพื่อความรู้ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมารุก ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของ โครงงาน
8.
โครงงาน การพัฒนา
โปรแกรม ประยุกต์
9.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational
Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน มีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อม มีเครื่อง คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้า มาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขา คอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจ คัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อ การศึกษา”
10.
ตัวอย่าง ใบงานที่
4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อ การศึกษา”
11.
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง
ๆ ซึ่งโดยส่วน ใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถ นาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้ สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนา เครื่องมือ”
12.
ตัวอย่าง ใบงานที่
5 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนา เครื่องมือ
13.
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของ
สาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็น โครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือ คาอธิบาย พร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตาม สูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการ ไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุ แบบสามมิติ เป็นต้น ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
14.
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน
เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์ สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ เครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการ พัฒนาด้วย ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
15.
ตัวอย่าง ใบงานที่
7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
16.
โปรแกรมประยุกต์ หรือ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือ แบ่งออกเป็น 1.ซอฟต์แวร์สาเร็จ เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมาจาหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไป ใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก 2.ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ มักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบการทางานหรือความ ต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดทาขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกัน ทางาน ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ เป็นต้น ตัวอย่างโครงงาน 1. โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี 2. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนแอนดรอยด์ 3. การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ 3 มิติ 4. การพัฒนาโปรแกรมของการ์ ET-PCI8255 V3 ด้วย Delphi 5 5. การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นด้วย PHP และ Dreamweaver MX ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
17.
ขอบคุณครับ
18.
http://www.vcharkarn.com/project/view/689
http://www.slideshare.net/mcf_cnx1/ss-14040037 http://oumsunipharuamsap.blogspot.com/2012/09/4-httpwww.html ที่มา
Download