การท่องเที่ยว[2
- 2. สถานการณ์และแนวโน้มการท่องเที่ยว ปี 2554 ตั้งเป้า นักท่องเที่ยวต่างชาติ ประมาณ 15.5 ล้านคน รายได้ 600,000 ล้านบาท ปี 2552 นักท่องเที่ยวต่างชาติ ประมาณ 14 ล้านคน รายได้ 527,326 ล้านบาท
- 3. ที่มา : องค์การการท่องเที่ยวโลก ( UNWTO ) จำนวนนักท่องเที่ยวใน 20 อันดับแรกของโลก ( หน่วยล้านคน ) พ . ศ . 2552 พ . ศ . 2551 1. ฝรั่งเศส 81.9 79.3 2. สหรัฐอเมริกา 58.7 58.0 3. สเปน 56.0 57.3 4. จีน 54.7 53.0 5. อิตาลี 43.7 42.7 6. อังกฤษ 30.9 30.2 7. ยูเครน 23.1 25.4 8. ตุรกี 22.2 25.0 9. เยอรมัน 24.4 24.9 10. เม็กซิโก 21.4 22.6
- 4. จำนวนนักท่องเที่ยวใน 20 อันดับแรกของโลก ( หน่วยล้านคน ) ที่มา : องค์การการท่องเที่ยวโลก ( UNWTO ) พ . ศ . 2552 พ . ศ . 2551 11. มาเลเซีย 20.97 22.05 12. ออสเตรีย 20.77 21.93 13. ฮ่องกง 17.15 17.32 14. แคนนาดา 17.93 17.12 15. ซาอุดิอาระเบีย 11.53 14.76 16. ไทย 14.46 14.58 17. โปแลนด์ 14.97 12.96 18. อียิปต์ 10.61 12.29 19. มาเก๊า 12.94 10.60 10. เนเธอร์แลนด์ 11.00 10.10
- 7. - นายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ประกาศเจตนารมณ์ เสนอตัวลงสมัครรับการคัดเลือกเป็นเจ้าภาพจัดงาน World Expo 2020 ที่เซี่ยงไฮ้ 17 เมษายน 2552 - มติ ครม . ให้การท่องเที่ยวเป็นวาระแห่งชาติ 20 เมษายน 2553 - มติ ครม . - อนุมัติในหลักการให้ดำเนินโครงการและเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ
- 8. - พรบ . นโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . 2551 ให้มีคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ ( ท . ท . ช .) -5 มีนาคม 2553 ( ประชุมครั้งที่ 1 / 53 ) ให้กระทรวงการท่องเที่ยวฯ “ร่างแผนพัฒนา การท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . 2555 – 2559 ”
- 9. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ออกเป็น ๕ ด้าน ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก เพื่อการ ท่องเที่ยว ( Infrastructure & Logistics ) ประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๑ . ๑ : พัฒนาและปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๑ . ๒ : พัฒนาและปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๑ . ๓ : การสร้างโครงข่ายเส้นทางคมนาคมและระบบเชื่อมโยงการเดินทา ท่องเที่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและในภูมิภาค
- 10. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้เกิด ความยั่งยืน ประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๒ . ๑ : การฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๒ . ๒ : การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของแหล่งเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๒ . ๓ : ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาการท่องเที่ยว
- 11. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว และยกระดับมาตรฐานธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่อง ประกอบด้วย ๕ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๓ . ๑ : การสร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการ การท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๓ . ๒ : การป้องกันและรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๓ . ๓ : การเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการท่องเที่ยวให้มีขีดความสามารถ ในการแข่งขัน กลยุทธ์ที่ ๓ . ๔ : การสร้างสรรค์กิจกรรม นวัตกรรมและมูลค่าเพิ่มด้าน การท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๓ . ๕ : การเสริมสร้างโอกาสและแรงจูงใจเพื่อพัฒนาการค้า การลงทุนด้านการท่องเที่ยว
- 12. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูภาพลักษณ์และยกระดับความเชื่อมั่นด้านการ ท่องเที่ยวของประเทศไทย ประกอบด้วย ๒ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๔ . ๑ : สร้างและเผยแพร่ภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวและ ยกระดับความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๔ . ๒ : สร้างสภาพแวดล้อมและพัฒนาระบบสนับสนุน การตลาดท่องเที่ยว
- 13. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ . ศ . ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : ยุทธศาสตร์กระตุ้นการเดินทางท่องเที่ยวและสร้างรายได้ จากการท่องเที่ยว ประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ ๕ . ๑ : ส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อสร้างรายได้เข้าประเทศ จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ กลยุทธ์ที่ ๕ . ๒ : สร้างกระแสการรับรู้ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า การท่องเที่ยว กลยุทธ์ที่ ๕ . ๓ : การสร้างกระแสการเดินทางของนักท่องเที่ยว ชาวไทย
- 16. องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณา 1 . มาตรฐานด้านสาธารณสุข ( Public Health Standard ) 1.1 การควบคุมโรคระบาดและโรคติดต่อที่สำคัญ 1. โรคพิษสุนัขบ้า 2. ลีเจียนแนร์ 3 . อหิวาตกโรค 4. SARS 5. Bird Flu 6. มาลาเรีย ข้อ 1 พื้นที่ต้องไม่มีรายงานการเสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้าทั้งในคนและในสัตว์ติดต่อกันอย่างน้อย 2 ปี รายงานการตรวจยืนยันไม่มีผู้ป่วยในรอบ 2 ปี โรค ข้อ 3 - 6 พื้นที่มีอุบัติการณ์ ( Incidence rate) ต้องน้อยกว่าค่ามัธยฐานย้อน 5 ปี
- 17. องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณา 1 . มาตรฐานด้านสาธารณสุข ( Public Health Standard ) 1.2 ความปลอดภัยด้านอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.2.1 ตลาดสด เกณฑ์ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 17 ข้อ + เกณฑ์ด้านความปลอดภัยทุกข้อ + เกณฑ์ด้านคุ้มครองผู้บริโภคทุกข้อ ( ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ ) ระดับดี 1.2.2 ร้านอาหาร 1.2.3 โรงแรม 1. 2.4 สุขาสาธารณะ Clean food good taste เกณฑ์โรงแรมน่าอยู่น่าพัก ยกเว้นด้านอาหารใช้เกณฑ์มาตรฐานของร้านอาหาร สุขาภิบาลอาหารในโรงแรม ผ่านเกณฑ์ HAS
- 18. องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณา 2. มาตรฐานด้านระบบบริการสุขภาพ (Healthcare Service Standards 2.1 ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical System) 2.1.1 ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน ( ประกอบด้วย ) – ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉิน - ยานพาหนะและอุปกรณ์ - ปฏิบัติการตามแนวทาง ปฏิบัติ ( Protocal) 1. มีชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานของ สพฉ - ครอบคลุมพื้นที่ 100 % - response time 10 min ไม่น้อยกว่า 80 % 2.1.2 ศูนย์รับแจ้งและสั่งการ 1. มีศูนย์รับแจ้งเหตุและส่งการจังหวัดที่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ มาตรฐานของ สพฉ . 2. มีอัตราการแจ้งเหตุหรือเรียกใช้บริการเมือเจ็บป่วยฉุกเฉินผ่าน 1669 ไม่น้อยกว่า 70 %
- 19. องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณา 2. มาตรฐานด้านระบบบริการสุขภาพ (Healthcare Service Standards 2.2 ระบบบริการการแพทย์ในโรงพยาบาลและการส่งต่อ 2.2.1 การได้รับการรับรอง มาตรฐานโรงพยาบาล ภาครัฐ - ต้องผ่านการรับรองมาตรฐานรพ . 3 ดี และ มาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง ได้แก่ HNQA, HA ,PCA ภาคเอกชน – ผ่านตามกฎหมายสถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน 2.2.2 ระบบส่งต่อ สามารถส่งต่อได้ตามเกณฑ์มาตรฐานประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 8 ( พ . ศ . 2545) เรื่องมาตรฐานการส่งต่อผู้ป่วย 100 %
- 20. องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณา 2. มาตรฐานด้านระบบบริการสุขภาพ (Healthcare Service Standards 2.2.3 การมีระบบรองรับนักท่องเที่ยวประกอบด้วย - คลินิกรองรับนักท่องเที่ยว 24 ชั่วโมง - มีระบบรองรับประกันสุขภาพ - ระบบเอกสารทางการแพทย์ - การประสานกับสถานทูต - การประสานกับตรวจคนเข้า เมือง - ภาษาต่างชาติ ป้าย เอกสาร คำแนะนำข้อมูล , โบรชัวร์ บริการอินเตอร์เนต - มีบริการโทรศัพท์ต่างประเทศ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง ( ภาครัฐหรือเอกชนก็ได้ ) และต้องผ่านทุกข้อ มีบุคลากรหรือกลไกที่สามารถประสานบุคลากรที่มี ทักษะในการสื่อสารภาษาภาษาอังกฤษ ป้ายมีภาษาอังกฤษกำกับ มีเอกสารภาษาอังกฤษ เป็นอย่างน้อย มีบริการอินเตอร์เนต 24 ชั่วโมง ตลอด 24 ชั่วโมง
- 21. องค์ประกอบ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ขั้นต่ำในการพิจารณา 2. มาตรฐานด้านระบบบริการสุขภาพ (Healthcare Service Standards 2.3 หน่วยงานเอกชนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับบริการ 2.3.1 คลีนิคเอกชน ( สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ) สุขภาพ ผ่านเกณฑ์ตามกฎกระทรวงออกตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ . ศ .2541 2.3.2 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวย มาตรฐานของสถานที่ การบริการ ผู้ให้บริการ หลักเกณฑ์ และวิธีการตรวจสอบเพื่อการรับรอง ให้เป็นไปตามมาตรฐานสำหรับสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ . ศ . ๒๕๐๙ พ . ศ . ๒๕๕๑