ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย วิชา สังคมศึกษา ส  31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4  ภาคเรียนที่  2 จัดทำโดย  สุบิน  ส่งแสง
ที่มาของกฎหมาย สิ่งที่ทำให้เกิดเป็นข้อความของกฎหมายขึ้น  เช่น ศีลธรรมและค่านิยมของคนในสังคมส่วนใหญ่ คำสอนทางศาสนา หรืออาจอาศัยกฎหมายอื่นที่วางแนวไว้ สาเหตุที่ทำให้เกิดกฎหมาย  เช่น เมาไม่ขับ เปิดไฟใส่หมวก สาเหตุที่ทำให้เกิดกฎหมายผูกพันพลเมือง  คือ พลเมืองต้องยอมรับอำนาจของผู้ออกกฎหมาย มิฉะนั้นจะทำให้เกิดความวุ่นวาย สิ่งที่ศาลจะนำมาใช้ตัดสินคดีถือเป็นกฎหมาย  มี  2  อย่าง -  กฎหมายลายลักษณ์อักษร เช่น ไทย ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อิตาลี -  กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น อเมริกา อังกฤษ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
เอ็งกินเหล้าเมายาไม่ว่าหรอก แต่อย่านอกทางไปให้เสียผล  จงอย่ากินสินบาทคาดสินบน  เรามันชนชั้นปัญญาตุลาการ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
ความสำคัญของกฎหมายไทยต่อสังคม ต้องมีความเด็ดขาดแน่นอน ความไม่รู้กฎหมายไม่อาจยกมาแก้ตัวให้พ้นผิดได้ บังคับใช้ทุกคนในสังคม กฎหมายกับศีลธรรมบางครั้งก็สนับสนุนกัน บางครั้งก็ขัดกัน ไม่มีสังคมใดตั้งอยู่ได้โดยไม่มีกฎหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายกับสิทธิและ๶สรีภาพ กรอบกฎหมาย สิทธิ ๶สรีภาพ
ทำแท้งผิดกฎหมายหรือไม่ ?
กฎหมายกับความยุติธรรม ความยุติธรรม คือ ศีลธรรมหรือความนึกคิดของมนุษย์ กฎหมายตั้งขึ้นเพื่อให้บรรลุความยุติธรรม กฎหมายเป็นปัจจัยสำหรับรักษาความยุติธรรม เกี่ยวข้องกันดังนี้ -  ความยุติธรรมมีส่วนทำให้คนยอมรับกฎหมาย -  ความยุติธรรมใช้ในการจัดสรรผลประโยชน์ในสังคม -  ความยุติธรรมในการนำกฎหมายมาใช้ ต้องปราศจากอคติ
วิธีการจัดประเภทของกฎหมายในรัฐ ตามองค์กรทำกฎหมาย ตามความสัมพันธ์คู่กรณี ตามบทบาทของกฎหมาย องค์กรพิเศษ สมาชิกองค์กรนิติบัญญัติ องค์กรบริหาร กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชน กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติ
กฎหมายที่จัดทำโดยองค์กรพิเศษ สภาร่างรัฐธรรมนูญ     รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญจากกำหนดว่า -  อำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย  -  พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจทางใดบ้าง -  แนวทางการใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา -  การใช้อำนาจบริหารทางครม . -  การใช้อำนาจตุลาการทางศาล -  หลักประกันเกี่ยวกับสิทธิและ๶สรีภาพ ของชนชาวไทย กฎหมายหรือกฎจะขัดต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้
กฎหมายที่จัดทำโดยสมาชิกองค์กรนิติบัญญัติ พระราชบัญญัติ     เป็นกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติ ตามคำแนะนำ และยินยอมของรัฐสภา  ( สส . และสว . ) พรบ .  มีฐานะสูงกว่ากฎหมายอื่น ยกเว้นรัฐธรรมนูญ เช่น พรบ . การศึกษาแห่งชาติ  พ . ศ . 2542 ,  พรบ .  รถยนต์ พรบ . ประกอบรัฐธรรมนูญ เช่น ว่าด้วยพรรคการเมือง ,  ว่าด้วยกกต .,  ว่าด้วยการเลือกตั้ง สส .  สว .  เป็นต้น
กฎหมายที่จัดทำโดยองค์กรบริหาร :  พระราชกำหนด พระราชกำหนด     เพื่อประโยชน์ที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ กระทำได้เมื่อ ครม .  เห็นว่าฉุกเฉิน เป็นกฎหมายที่มีผลแค่ชั่วคราว คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี รัฐสภา พระราชบัญญัติ ยกเลิก อนุมัติ ไม่อนุมัติ พระมหากษัตริย์ตรา
กฎหมายที่จัดทำโดยองค์กรบริหาร :  อื่นๆ พระราชกฤษฎีกา     มีฐานะต่ำกว่าพระราชกำหนด ไม่ต้องนำไปเสนอให้รัฐสภาพิจารณาอนุมัติเหมือนพระราชกำหนด กฎกระทรวง      รัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมายแม่บทที่ให้อำนาจออกกฎกระทรวง กฎหมายที่จัดทำขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น     จัดทำขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ กทม .  เมืองพัทยา เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์การบริหารส่วนตำบล มีผลใช้เฉพาะท้องที่นั้นๆ คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ตรา
กฎหมายที่จัดตามลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณี เช่น สามี  vs   ภรรยา ,  พ่อแม่  vs   ลูก ,  นายจ้าง  vs   ลูกจ้าง กฎหมายเอกชน     ระหว่างพลเมืองกับพลเมืองด้วยกัน หรือรัฐกับพลเมือง เช่น กฎหมายแพ่ง  กฎหมายมหาชน     เกี่ยวกับการจัดโครงสร้าง การดำเนินงานด้วยการปกครองของรัฐ คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐกับพลเมือง เช่น รัฐธรรมนูญ งบประมาณและภาษีอากร กฎหมายอาญา  กฎหมายระหว่างประเทศ     ระหว่างรัฐในฐานะเท่าเทียม เช่น ควบคุมการติดต่อทางทูต หรือกงสุลระหว่างรัฐ ข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยระหว่างรัฐต้องตกลงและยอมรับกัน
๶กณฑ์ลำึϸบความสำคัญหรือศักดิ์ของกฎหมาย   รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง กฎหมายท้องถิ่น
กฎหมายที่จัดตามบทบาทของกฎหมาย มี  2   ประเภท ดังนี้ กฎหมายสารบัญญัติ      เป็นส่วนเนื้อแท้ของกฎหมาย ใช้บังคับความประพฤติของพลเมืองทั้งแพ่งและอาญา ว่าทำอย่างไรเป็นความผิด และรับโทษอย่างไร กฎหมายวิธีสบัญญัติ      ใช้ประกอบกันกับกฎหมายสารบัญญัติ กล่าวถึงกระบวนวิธีการที่จะบังคับให้เป็นไปตามกฎหมายสารบัญญัติ

More Related Content

ความรู้เบื้องต้น๶กี่ยวกับกฎหมาย2003