ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554
นาย ธนิสรณ์ เย็นยุวดี 51211808 INC 4A




ขั้นตอนในการทาความสะอาดมอเตอร์
         1. นามอเตอร์ ที่จมน้ ามาทาความสะอาด ซึ่ งในขั้นตอนแรกนั้น เราจะต้องทาการพิจารณาว่าในการ
เริ่ มถอดอุปกรณ์น้ นจะต้องทาการถอดจากส่ วนไปไหนก่อน เพราะว่ามอเตอร์ แต่ละตัวนั้นจะมีลกษณะและ
                   ั                                                                   ั
ขั้นตอนในการถอดที่ไม่เหมือนกัน หลังจากนั้นเราก็เริ่ มทาการถอดชิ้นส่ วนออกทีละชิ้น
2. พอเราทาการถอดอุปกรณ์ต่างๆของมอเตอร์ แล้ว หลังจากนั้นเราก็จะมาใช้แปรงลวดขัดบริ เวณ
                                                                                     ่
ภายนอกของมอเตอร์ และก็อะไหล่บางชิ้นส่ วนที่ถอดออกมาเพื่อให้สนิทและฝุ่ นละอองที่ติดอยูหลุดออกไป
                                              ่
ต่อมาเราก็จะใช้แปรงทองแดงขัดบริ เวณขดลวดที่อยูภายในมอเตอร์ และต้องควรระมัดระวังเป็ นอย่างมาก
เพราะถ้าขัดแรงเกินไปจะทาให้ขดลวดของมอเตอร์ชารุ ดได้




        3. ต่อมาเราก็ได้นาขดลวดของมอเตอร์ และอะไหล่บางชิ้นไปเข้าเตาอบที่อุณหภูมิ 80 องศา เป็ นเวลา
1 ชัวโมง หลังจากอบเสร็ จก็ให้ทิ้งไว้สักพักรอจนกว่าอะไหล่ของมอเตอร์ และตัวขดลวดจะเย็นตัวลง
    ่




         4. หลังจากนั้นก็ให้นาชิ้นส่ วนต่างๆของมอเตอร์ มาประกอบเข้าด้วยกัน
         5. ต่อมาก็ทาการนามอเตอร์ มาทดสอบ โดยการวัดความต้านที่ตกคร่ อมขดลวดว่ามีค่าพอที่จะ
สามารถนาไปใช้งานต่อได้หรื อไม่และถ้ามีค่าของความต้านทานที่เราวัดได้ไม่เป็ นไปตามที่จะสามารถ
นาไปใช้งานต่อได้เราก็อาจจะต้องนาไปอบใหม่อีกครั้งเพราะอาจจะมีความชื้นอยู่ แต่ถานาไปอบแล้วยังไม่ดี
                                                                               ้
                    ่
ขึ้นก็อาจจะสรุ ปได้วามอเตอร์ น้ นชารุ ดขดลวดอาจจะเสื่ อมหรื อขาด อาจจะต้องนาไปพันใหม่ และอีกอย่างที่
                                ั
สาคัญเราต้องทาการวัดความต้านของขดลวดเทียบกับกราวด์ของตัวเครื่ องด้วยว่าต้องมีความต้านทานที่สูงๆ
เข้าไว้เพราะถ้ามีความต้านทานที่นอยเกินไปกระแสไฟก็จะไหลผ่านมอเตอร์ ได้และเมื่อคนนามือไปจับก็
                                     ้
อาจจะส่ งผลทาให้เกิดอันตรายแก่ผใช้งานได้
                                       ู้
                                                            ่
          6. หลังจากนั้นเราก็นามอเตอร์ มาทดลองสตาร์ ทดูวามอเตอร์ หมุนหรื อป่ าวโดยใช้ไฟสามเฟส พอ
มอเตอร์ หมุนแล้วเราก็จะต้องมาทาการวัดกระแสที่ไหลผ่านในแต่ละเฟสว่ามีค่าเท่ากันหรื อไม่ ถ้าในความ
เป็ นจริ งนั้นทั้งสามเฟสต้องมีค่าเท่ากัน แต่ที่เราได้ทาการทดลองจะมีเฟสหนึ่งที่ไม่เท่ากับอีกสองเฟส ก็
เพราะว่าเนื่องจากไฟของตัวอาคารนั้นมีเฟสหนึ่งที่แรงดันไม่เท่ากับอีกสองเฟสจึงส่ งผลทาให้กระแสที่เรา
อ่านได้ที่ไหลผ่านมอเตอร์ จ่ ึงไม่เท่ากับอีกสองเฟส




                                                                            ่
         7. สุ ดท้ายพอมอเตอร์หมุนแล้วให้เราทาการทดลองฟังเสี ยงของมอเตอร์ วามีเสี ยงที่ดงผิดปกติ
                                                                                       ั
หรื อไม่ ถ้าดังผิดปกติก็ควรทาการเปลี่ยนลูกปื นใหม่ เพราะลูกปื นของมอเตอร์อาจจะเสื่ อมสภาพแล้ว

More Related Content

วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554

  • 1. วันอังคารที่ 22 ธันวาคม 2554 นาย ธนิสรณ์ เย็นยุวดี 51211808 INC 4A ขั้นตอนในการทาความสะอาดมอเตอร์ 1. นามอเตอร์ ที่จมน้ ามาทาความสะอาด ซึ่ งในขั้นตอนแรกนั้น เราจะต้องทาการพิจารณาว่าในการ เริ่ มถอดอุปกรณ์น้ นจะต้องทาการถอดจากส่ วนไปไหนก่อน เพราะว่ามอเตอร์ แต่ละตัวนั้นจะมีลกษณะและ ั ั ขั้นตอนในการถอดที่ไม่เหมือนกัน หลังจากนั้นเราก็เริ่ มทาการถอดชิ้นส่ วนออกทีละชิ้น
  • 2. 2. พอเราทาการถอดอุปกรณ์ต่างๆของมอเตอร์ แล้ว หลังจากนั้นเราก็จะมาใช้แปรงลวดขัดบริ เวณ ่ ภายนอกของมอเตอร์ และก็อะไหล่บางชิ้นส่ วนที่ถอดออกมาเพื่อให้สนิทและฝุ่ นละอองที่ติดอยูหลุดออกไป ่ ต่อมาเราก็จะใช้แปรงทองแดงขัดบริ เวณขดลวดที่อยูภายในมอเตอร์ และต้องควรระมัดระวังเป็ นอย่างมาก เพราะถ้าขัดแรงเกินไปจะทาให้ขดลวดของมอเตอร์ชารุ ดได้ 3. ต่อมาเราก็ได้นาขดลวดของมอเตอร์ และอะไหล่บางชิ้นไปเข้าเตาอบที่อุณหภูมิ 80 องศา เป็ นเวลา 1 ชัวโมง หลังจากอบเสร็ จก็ให้ทิ้งไว้สักพักรอจนกว่าอะไหล่ของมอเตอร์ และตัวขดลวดจะเย็นตัวลง ่ 4. หลังจากนั้นก็ให้นาชิ้นส่ วนต่างๆของมอเตอร์ มาประกอบเข้าด้วยกัน 5. ต่อมาก็ทาการนามอเตอร์ มาทดสอบ โดยการวัดความต้านที่ตกคร่ อมขดลวดว่ามีค่าพอที่จะ สามารถนาไปใช้งานต่อได้หรื อไม่และถ้ามีค่าของความต้านทานที่เราวัดได้ไม่เป็ นไปตามที่จะสามารถ นาไปใช้งานต่อได้เราก็อาจจะต้องนาไปอบใหม่อีกครั้งเพราะอาจจะมีความชื้นอยู่ แต่ถานาไปอบแล้วยังไม่ดี ้ ่ ขึ้นก็อาจจะสรุ ปได้วามอเตอร์ น้ นชารุ ดขดลวดอาจจะเสื่ อมหรื อขาด อาจจะต้องนาไปพันใหม่ และอีกอย่างที่ ั
  • 3. สาคัญเราต้องทาการวัดความต้านของขดลวดเทียบกับกราวด์ของตัวเครื่ องด้วยว่าต้องมีความต้านทานที่สูงๆ เข้าไว้เพราะถ้ามีความต้านทานที่นอยเกินไปกระแสไฟก็จะไหลผ่านมอเตอร์ ได้และเมื่อคนนามือไปจับก็ ้ อาจจะส่ งผลทาให้เกิดอันตรายแก่ผใช้งานได้ ู้ ่ 6. หลังจากนั้นเราก็นามอเตอร์ มาทดลองสตาร์ ทดูวามอเตอร์ หมุนหรื อป่ าวโดยใช้ไฟสามเฟส พอ มอเตอร์ หมุนแล้วเราก็จะต้องมาทาการวัดกระแสที่ไหลผ่านในแต่ละเฟสว่ามีค่าเท่ากันหรื อไม่ ถ้าในความ เป็ นจริ งนั้นทั้งสามเฟสต้องมีค่าเท่ากัน แต่ที่เราได้ทาการทดลองจะมีเฟสหนึ่งที่ไม่เท่ากับอีกสองเฟส ก็ เพราะว่าเนื่องจากไฟของตัวอาคารนั้นมีเฟสหนึ่งที่แรงดันไม่เท่ากับอีกสองเฟสจึงส่ งผลทาให้กระแสที่เรา อ่านได้ที่ไหลผ่านมอเตอร์ จ่ ึงไม่เท่ากับอีกสองเฟส ่ 7. สุ ดท้ายพอมอเตอร์หมุนแล้วให้เราทาการทดลองฟังเสี ยงของมอเตอร์ วามีเสี ยงที่ดงผิดปกติ ั หรื อไม่ ถ้าดังผิดปกติก็ควรทาการเปลี่ยนลูกปื นใหม่ เพราะลูกปื นของมอเตอร์อาจจะเสื่ อมสภาพแล้ว