ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อในช่องท้องของผู้ป่วยล้างทางหน้าท้องใน รพ . สวรรค์ประชารักษ์ โดย นส . พิกุล สุขประเสริฐและนางภัณฑิรา ภัสสร  พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ  หน่วยไตเทียม
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่มารับบริการ การล้างทางหน้าท้อง  ตั้งแต่ 1  กุมภาพันธ์  2554  ถึง   31   พฤษภาคม  2554
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ป่วย กลุ่มติดเชื้อ  ( case ) กลุ่มไม่ติดเชื้อ  ( control ) (  เป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในโครงการบัตรสุขภาพถ้วนหน้า ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ที่ยังล้างไตอยู่ และสามารถซักประวัติจากผู้ป่วยหรือผู้ดูแลได้ พูดคุยรู้เรื่อง  )
กลุ่มติดเชื้อ  (  case  )
-  ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในช่องท้อง (Peritonitis) นับห่างจากครั้งสุดท้ายไม่น้อยกว่า  1  เดือน -  เกณฑ์การติดเชื้อในช่องท้อง ต้องแสดงอาการอย่างน้อย  2  ใน   3  ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. ปวดท้อง และอาการ  Rebound tenderness 2. น้ำยาที่ปล่อยออกจากช่องท้องขุ่น และมี  WBC > 100 cell/mm 3   และ  Neutophil > 50% 3. ตรวจพบเชื้อจากผลเพาะเชื้อ (C/S)  หรือ การย้อมสี (Gram stain)
กลุ่มไม่ติดเชื้อ  (  control  )
เป็นผู้ป่วยที่ไม่มีการติดเชื้อในช่วงเวลาที่ตรงกันของผู้ติดเชื้อ โดยเปรียบเทียบจากเพศเดียวกัน อายุที่เท่ากัน จำȨȨอบการเปลี่ยนȨำยาเท่ากัน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  -  แบบบันทึกข้อมูล -  การสัมภาษณ์ -  แฟ้มประวัติผู้ป่วย
ลักษณะผู้ป่วย / ปัจจัยเสี่ยง เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไตเรื้อรัง ภาวะโรคร่วม BUN
Hct Hb Albumin การติดเชื้อมาก่อน  ไปรักษารพ . อื่นมาก่อน  จำนวนครั้งที่เกิดการติดเชื้อ
ปัญหาและอุปสรรค ที่พบในการเก็บข้อมูล
๶จ้าหȨาที่
ภาระงานประจำที่มีมาก  ส่งผลต่อเวลาในการศึกษาและดำเนินการวิจัย
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยเปลี่ยนสถานะ  จาก  control  เป็น  case
ผู้ป่วยคนเดิม ติดเชื้อติดต่อกัน  2 -3  ครั้ง
ทำ  CAPD  ในระยะเวลาไม่ถึงเดือน เกิด  peritonitis
ไม่มีคู่
ติดเชื้อแล้ว เสียชีวิตภายหลัง อาจจะเป็น วัน สัปดาห์ เดือน  นำมาคิดค่า  N   ได้หรือไม่
LAB  ย้อนหลัง กรณีติดเชื้อ นับย้อนหลังถึงครั้งที่ติดเชื้อล่าสุด และกรณีไม่ติดเชื้อ นับย้อนหลังไปกี่ครั้ง  ???
ผู้ป่วยบอกข้อมูลไม่ตรงกับความจริง เช่น การซักประวัติการทำ  CAPD  ที่บ้าน  ( ตรวจสอบข้อมูลจากญาติ ) ???
จบการนำเสนอ   (  พวกเราสู้ๆ  )

More Related Content

นำเสนอ 23 มิ.ย.2554