ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ใบงานที่ 2
ความหมายและความสาคัญของโครงงาน
ความหมาย หมายถึง วิธีทางานที่เป็นระบบขั้นตอนเพื่อทางานชิ้นใด
ชิ้นหนึ่งให้สาเร็จ
ความสาคัญ เสริมสร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง
ส่งผลทาให้เกิด ความริเริ่มสร้างสรรค์ในการทาโครงงานใหม่ๆที่จะ
นาไปสู่โลกของงานอาชีพ และการศึกษา อีกทั้งโครงงานที่ตนเองสนใจ
ยังก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่ กว้างขวาง เป็นการประสานงานทางวิชาการ
ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่างๆ
ที่มา : http://www.tet2.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=437156...
ใบงานที่ 3
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน ดาเนินงานโดยนักเรียนเป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์ และครู
อาจารย์เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา สรุปได้ดังนี้คือ
1.เป็นกิจกรรมการศึกษาที่ให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติด้วยตนเอง โดยอาศัย
หลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆหรอจากประสบการณ์และกิจกรรม
ต่างๆที่ได้พบเห็นมาแล้ว
2.นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่ม จานวน 2-
3 คนต่อกลุ่ม โดยใช้ระยะเวลาสั้นๆเป็นภาคเรียน หรือมากกว่านั้นก็ได้
3.นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้า
ปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความถนัด สนใจและความพร้อม
4.นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงาน และ
การแปรผลรายงานผลต่อครูอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตาม
จุดหมายที่กาหนดไว้
5.เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและ
สติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
จากขอบข่ายของโครงงานดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่า นักเรียนเป็นผู้
ดาเนินงาน โดยคาแนะนาปรึกษาของครูอาจารย์ที่สนับสนุนให้นักเรียนเป็น
ผู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ทั้งด้านการเสนอโครงงาน รายละเอียดและ
ขั้นตอนกาปฏิบัติ ตลอดจนถึงจัดทาแผนปฏิบัติงาน การแปรผลและ
รายงานผล ตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ ทาให้สามารถแบ่งแยกประเภท
ของโครงงานได้ ดังนี้ คือ
1. ประเภทพัฒนาผลงาน
2. ประเภทศึกษา ค้นคว้า ทดลอง
3. ประเภทสร้างสิ่งประดิษฐ์
4. ประเภทสารวจข้อมูล
ประเภทพัฒนาผลงาน
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่เกิดจากการศึกษาเนื้อหาทางวิชาการ หรือ
หลักทฤษฎีเกี่ยวกับวิชาการงานและอาชีพหรือวิชาสามัญต่างๆ แล้วนามาปรับปรุงและ
พัฒนาให้สอดคล้องกับแนวทางทฤษฎีดังกล่าว ส่งผลให้มีผลงานเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ตัง
อย่างเช่น เมื่อนักเรียนได้ศึกษาทางทฤษฎีเกี่ยวกับ
พลังงานแสงอาทิตย์ นักเรียนอาจทาโครงงานสร้างเครื่องอบกล้วยด้วยแสงแดด
ตู้อบเนื้อสัตว์ต่างๆ เครื่องทาน้าร้อน เป็นต้น
พืชสมุนไพร นักเรียนอาจทาโครงงานการใช้ยาปราบศัตรูพืชด้วยพืชสมุนไพร
กาจัดเพลี้ย หนอน แมลงปีกแข็ง เป็นต้น
การถนอมอาหาร นักเรียนอาจทาโครงงาน การแปรรูปผลผลิต การทาผักกาด
ดองสามรส การทาไส้กรอก การดองพืชผัก ผลไม้ต่างๆ เป็นต้น
การเลี้ยงปลา นักเรียนอาจทาโครงงาน การเลี้ยงปลาสวยงาม การเปลี่ยนสีปลา
ออสก้า เป็นต้น
ประเภทสร้างสิ่งประดิษฐ์
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆขึ้นมา
หลังจากที่ได้ศึกษาทฤษฎีหรือพบเห็นผลงานของผู้อื่นแล้ว เกิดความคิด
สร้างสรรค์ที่จะพัฒนาต่อไป จึงประดิษฐ์คิดค้นให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ดี
ยิ่งขึ้น เช่น
- การควบคุมระบบการให้น้าในแปลงเพาะชา
- การประดิษฐ์หัวฉีดพ่นน้าในแปลงปลูกผัก
- การประดิษฐ์ของชาร่วย
- การประดิษฐ์เครื่องรับวิทยุ
- การประดิษฐ์เครื่องเสียง
- การออกแบบเสื้อผ้าชาย หญิง
ประเภทสารวจข้อมูล
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานการศึกษาสารวจข้อมูลสาหรับ
ดาเนินงานพัฒนาปรับปรุงเพิ่มเติมผลงานและส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดี
ยิ่งขึ้น ข้อมูลดังกล่าว อาจมีผู้จัดทา แต่มีการแปรเปลี่ยนไปแล้ว ต้องทาการ
สารวจจัดทาขึ้นมาใหม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น
- การสารวจราคาผลผลิตเกษตรในท้องถิ่น
- การสารวจราคาสิ้นค้าอุปโภคบริโภคในท้องถิ่น
- การสารวจแหล่งวิชาการและสถานประกอบการในท้องถิ่น
- การสารวจงานบริการในท้องถิ่น
- การสารวจการปลูกข้าวโพดในท้องถิ่น
- การสารวจปริมาณการเลี้ยงไก่เนื้อในท้องถิ่น
- การสารวจปริมาณการเลี้ยงห่านในท้องถิ่น
ที่มา : http://www.pbj.ac.th/tawattidate/projcet/pro/lean2.htm
ใบงานที่ 4
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์
ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน
ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียน
สามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ
ออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถ
พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่
เข้าใจยากมาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริย
จักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่
สาคัญของประเทศไทย บทเรียนภาษาอังกฤษพื้นฐานผ่านทางมือถือ (Basic
English Learning on Mobile Phone) ภาษามือเรียนรู้ได้ ง่ายนิด
เดียว แบบจาลองผสมแบบแยกแยะสาหรับการแบ่งคาไทย เป็นต้น
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/project/article/56801

More Related Content

ใบงานที่ 2-4