ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สาระสาคัญของพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน
ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อเน้นการพัฒนาคนไทย
ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา
ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการ
ดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
หลักการจัดการศึกษา
 การศึกษาตลอดชีวิต เป็นการศึกษาสาหรับประชาชน ซึ่งมีทั้งการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาตลอด
ชีวิต เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง
 สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา นอกจากการจัดการศึกษาในภาครัฐ บุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบัน
ศาสนา องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานประกอบการ สถาบัน
ทางสังคมอื่น ๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
 การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษาให้
ได้ผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายจะต้องพัฒนาใน 2 ประเด็นคือ สาระความรู้ที่บรรจุ
ไว้ในหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้
หลักการจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
 นโยบาย มีความเป็นเอกภาพ มีความ
หลากหลายในการปฏิบัติ
 การกระจายอานาจ จากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น
เขตพื้นที่การศึกษาและสภาพการศึกษา ให้มี
ความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ
 มาตรฐานการศึกษา กาหนดมาตรฐาน
การศึกษา จัดระบบการประกันคุณภาพทุก
ระดับทุกประเภท
 การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา
 ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆมาใช้ในการ
จัดการศึกษา ให้ถือว่าทุกคนต้องมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา
 การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัวชุมชน
และองค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สภาบันศาสนา สถานประกอบการ
และสถาบันการศึกษา โดยใช้หลักการของ
ประชาธิปไตย
การจัดกระบวนการ
เรียนรู้
ตามพ.ร.บ
การศึกษาแห่งชาติ
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้
สอดคล้องกับความสนใจและ
ความถนัดของผู้เรียน
โดยคานึงถึง
ความแตกต่างของผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เกิดขึ้นได้
ทุกที่ ทุกเวลา
มีการประสานงานกับผู้ปกครอง
และบุคคลทุกฝ่ายเพื่อพัฒนา
ศักยภาพของผู้เรียน
จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อ
การเรียน และอานวยความสะดวก
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ใช้การวิจัยเป็นกระบวนการหนึ่ง
ของการเรียนการสอน และ
แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ
การจัดการเรียนการสอน
โดยผสมผสานสาระความรู้
ด้านต่าง ๆอย่างได้สัดส่วน
ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
ค่านิยมที่ดีงามและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ทุกวิชา
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น
ทาเป็น รักการอ่านและ
เกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนื่อง
ฝึกทักษะกระบวนการคิด
การจัดการการเผชิญสถานการณ์
และการประยุกต์ความรู้
มาใช้เพื่อป้ องกันและ
แก้ปัญหา
การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ
นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตาม
ความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเอง
กับสังคม รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ความเป็นมาของสังคมไทย และระบบการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจและ
ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา
และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน
ความรู้และทักษะ
ในการประกอบอาชีพ
และการดารงชีวิตอย่างมีความสุข
ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์
และด้านภาษาเน้นการใช้
ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา
ภูมิปัญญาไทย
และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา
การเตรียมตัวของผู้สอนเพื่อเข้าสู่การจัดการเรียนรู้ โดยเน้น
ผู้เรียน เป็นสาคัญ
การพัฒนาผู้เรียน
พุทธิพิสัย
คือความรู้ ความจา
ความเข้าใจ การนาไปใช้
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์
จิตพิสัย
ให้ผู้เรียนได้มีเรียนได้มีการพัฒนา
ด้านเจตคติ ความรู้สึกนึกคิด
อุปนิสัย อุดมคติ/ค่านิยม
ในทางที่ดีงาม
ทักษะพิสัย
การพัฒนาคนให้เกิดความ
ชานาญในการทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการจัดกระบวนเรียนรู้
 สารวจความสนใจ/ความต้องการและพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียน
 การเตรียมการ เริ่มจากการศึกษาหลักสูตร และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วางแผนการจัดกรจากประสบการณ์
กระบวนการเรียนรู้ให้มีความเชื่อมโยงต่อเนื่องกันโดยบูรณาการสาระการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กันและมีความ
สอดคล้องกับวิถีชีวิต และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนมากที่สุด
ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต้องมีความเหมาะสมตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน
 การดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ควรใช้คาถามหรือกิจกรรมที่ทาให้เกิดความสงสัยใคร่รู้ และผู้สอนควรจะทาตัวเป็นเพื่อนที่ดีของ
ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือได้ทุกเรื่อง
 ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมโดยใช้สื่อที่หลากหลายแบบองค์รวม ตามความถนัดและความสนใจของ
ผู้เรียน
 ขั้นวิเคราะห์ อภิปรายผลงาน สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันด้วยการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้
และประสบการณ์ร่วมกันโดยมีผู้สอนเป็นคนชี้แนะ สังเกต ให้ข้อมูลย้อนกลับ กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจค้นหาความรู้ต่อไป
การประเมินผลผู้สอนต้องศึกษามาตรา 26 ของพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ ในสาระการประเมินเกี่ยวกับการพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ
การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ และการทดสอบเพื่อ
พัฒนาค้นหาศักยภาพ จุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียน และต้องศึกษาเกี่ยวกับการ
ประเมินผลตามสภาพจริง ให้ครบทุกด้านทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะ
พิสัย โดยใช้เทคนิค และเครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์และเกณฑ์การประเมิน
การสรุปและการประยุกต์ใช้ เป็นขั้นตอนการตกผลึกของกระบวนการเรียนรู้
รายบุคคล โดยผู้เรียนจะมองสิ่งต่าง ๆ อย่างเป็นองค์รวม เชื่อมโยงให้เกิดการ
ค้นพบตนเอง มีความสามารถ มีจุดเด่นด้อยทางด้านใด ซึ่งสิ่งต่างๆ จะเกิดข้น
ต่อเมื่อผู้เรียนได้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ และการแสดงออกตามกระบวนกานเรียนรู้
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
บทบาทของผู้สอนในการดาเนินงานตามกระบวนการเรียนรู้
 การส่งเสริมความสัมพันธ์และความ
ร่วมมือกับชุมชน โดยการสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนในการร่วมกันจัด
การศึกษา ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีบทบาท
ในการพัฒนาการศึกษา และมีการ
ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างกัน
 การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้
การจัดบรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อการเรียนรู้ มี
สื่อการสอนที่เร้าความสนใจผู้เรียน ตลอดจนมี
การดาเนินกิจกรรมในบรรยากาศแห่งความเป็น
กัลยาณมิตร อันเอื้ออานวยต่อกี่พัฒนาการเรียนรู้
 การพัฒนางานของตนเอง ผู้สอนต้อง
แสวงหาความรู้และประสบการณ์เพื่อนามาใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานอย่าง
ต่อเนื่อง
 การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตร
ความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น มีการ
จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร
ความต้องการของผู้เรียน ความต้องการท้องถิ่น
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม ให้สามารถ
เชื่อมโยงเพื่อแก้ปัญหาท้องถิ่นได้ และเน้นการ
ปฏิบัติจริง
 กระบวนการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ
กระบวนการ
จัดการเรียนรู้
โดยเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
มีการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน
หลากหลายเหมาะสม
กับผู้เรียน
จัดกิจกรรมให้
ผู้เรียนรักสถานศึกษา
ของตน และมีความ
กระตือรือร้น
ในการเรียน
กระตุ้นให้ผู้เรียน
รู้จักศึกษาหาความรู้
แสวงหาคาตอบ
และสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเอง
กระตุ้นให้ผู้เรียน
รู้จักคิดวิเคราะห์
คิดสร้างสรรค์และ
คิดสร้างสรรค์
ส่งเสริมความเป็น
ประชาธิปไตย
การทางานร่วมกันกับ
ผู้อื่น และความรับผิดชอบ
ต่อกลุ่มร่วมกัน
ประเมิน
พัฒนาการผู้เรียน
ด้วยวิธีการที่
หลายหลายและ
ต่อเนื่อง
ฝึกและส่งเสริม
คุณธรรมและจริยธรรม
ของผู้เรียน
นาภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยี และสื่อที่
เหมาะสมกับการ
ประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน
ผู้เรียนได้รับการ
พัฒนาสุนทรียภาพ
ทั้งดนตรี ศิลปะ
และกีฬา

More Related Content

พรบ. 2542