ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
น.ส.มณีรัตน์ อนุพันธ์ 49064993
ภาคตะวันออก
                             ลักษณะป่าไม้ในเมืองไทย ในแต่ละภาค
                        ของประเทศไทย จะมีสภาพภูมิประเทศ สภาพ
                        ภูมิอากาศ แหล่งพันธุกรรมของสัตว์ป่าใหญ่
                        หลายชนิด และระบบนิเวศน์แตกต่างกันไป
                        ซึ่งเป็นตัวกาหนดลักษณะของธรณีพรรณไม้
                        ที่เจริญเติบโตในแหล่งนั้นๆ พรรณไม้หายาก
                        และไม้ถิ่นเดียว มีเขตการกระจายพันธุ์ตาม
                                                                  ภาคตะวันตกและภาคกลาง
                        ลักษณะป่าในแต่ละภาคของเมืองไทยด้วย




ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สิ่งที่ทาให้ป่าไม้ทางภาคใต้มีความโดดเด่น
ไม่เหมือนที่ไหน คือเป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกไปใน
ทะเลและมีป่าบนภูเขาและพื้นที่ราบลุมสลับกันไป
                                       ่
ดังนั้นพืชที่สามารถพบได้ในป่าลักษณะนี้จะเป็นพืชที่
ชอบความชื้นสูงและหากขึ้นอยู่บนภูเขาเตี้ยๆ ใกล้
ทะเลก็จะเพิ่มคุณลักษณะทนลมทะเลได้ดีขึ้นมาอีก
หนึ่งอย่าง เช่นต้นพุดภูเก็ต รักนา โมกเขา เป็นต้น ซึ่ง
หลายๆ พรรณไม้เช่น จาลา พรหมขาว เล็งเก็ง ก็จัด
ว่าเป็นพรรณไม้ภาคใต้ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์อีกด้วย
โครงการศูนย์วิจัย และรวบรวมพรรณไม้ถิ่น
เดียวและพรรณไม้หายาก นอกจากจะทาการวิจัยค้นคว้า
เก็บรักษารวบรวมพรรณไม้เป็นหลักแล้ว ยังมีหน้าที่ใน
การเผยแพร่ความรู้ให้แก่ประชาชนทั่วไปอีกด้วย รวมทั้ง
ให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรพืชถิ่นเดียวและ
พืชหายากของแต่ละท้องถิ่นอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ
ของป่าในพื้นที่นั้นๆ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเก็บ
รักษาพรรณไม้และพืชที่หายากและใกล้จะสูญพันธุ์ แต่
อาจมีศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจในอนาคต และเก็บรักษา
พันธุ์พืชที่มีคุณลักษณะพิเศษสาหรับการปรับปรุงพัฒนา
ต่อไปในอนาคต
พรรณไม้หายากและพรรณไม้ประจาถิ่Ȩหล่าȨ้เกิึϾึ้น
                             เฉพาะเขตป่าดงดิบชื้น ทางภาคใต้เท่านั้น มีทั้งหมด
                             103 ชนิด
                               พรรณไม้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
                               ไม้ล้มลุก
                               ไม้ยืนต้น
                               ไม้พุ่ม
                               ไม้เลื้อย
ที่มา โครงการสารวจพันธุ์พืชเฉพาะถิ่นหายาก ใกล้จะสูญพันธุ์ในพื้นที่อนุรักษ์ทั่วประเทศ
พรรณไม้ทางภาคใต้ตอȨน     พรรณไม้ทางภาคใต้ตอนล่าง
มีทั้งหมด 35 ชนิด         มีทั้งหมด 52 ชนิด
อยู่ในจังหวัด             อยู่ในจังหวัด
          ชุมพร                            ตรัง
          ระนอง                            สตูล
          สุราษฎรธานี                      พัทลุง
          นครศรีธรรมราช                    สงขลา
          พังงา                            ยะลา
          กระบี่                           ปัตตานี
          ภูเก็ต                           นราธิวาส

                                     พรรณไม้ทางภาคใต้ตอนล่าง/
                                     ตอนบนมีทั้งหมด 16 ชนิด
เขากวาง
ชุมพร บุหรงก้านเรียบ                                        ชงโคดา จาปาขอม
                                                            ประดับหินกลีบพับ
สุราษฎร์ธานี กกเขาสก บัวผุด ปาล์มหลังขาว หมากพระราหู        ประดับหินใบขน
ไผ่เฉียงรุน กล้วยไม้รองเท้านารีช่องอ่างทอง กระเช้าคลองพนม   พุดใต้ กระดังงา๶ขา
มะเดื่อไทย ย่านชงโค                          เคลงน้อย       พุดทุ่งทอง
                                             แคธารโบก       เหยื่อกุรัม
 ระนอง กาหลีขาว                              เทียนหิน       ตะเคียนชันตาแมว
นครศรีธรรมราช เคลงกนก                        ประดับหิน      ส้มจี๊ดใต้
                                             พุดกระบี่      หญ้าใบหอก
พังงา โมกสยาม                                หงส์เหิน       เอ็นลื่น ปาหนันขีแมว
                                                                              ้
                                             สาวสวรรค์      ไอ้แกรก จาลา
                                             โนรีปั้นหยี    ท่อมหมูช่อ
กระบี่ ประดับหิน พุดกระบี่ ม่วงเบญจา         ตีนเป็ดแคระ
โมกสยาม ย่านชงโค สักผา เหยื่อกุรัม                          เลื่อมเขา
                                             กะพ้อสี่สิบ    สาวน้าตก
พุดชมพู                                      พรหมขาว        ห่างไก่ใต้ ม่วงลัดดา
ก้างปลา
ตรัง ลาภูรา                                        หมามุ้ยลาย   กาลอ
                                                   ไก่โต้ง      ควนใต้
สตูล เอื้องดิน                                     หนวดปลาดุก   เครือพูเงินบน
                                                   เล็งเก็ง     จาปา
ภูเก็ต พุดภูเก็ต                                   ก่อปัตตานี   แดงประดับ
ยะลา กระเช้ายะลา กุหลาบมลาย ไข่มดหิน               ส้านแต่ง     ตองแข้ง
จาปาขอม ชันอ้อย เถาพันธุ์ดง ท่อมหมูหนาม                         ตีนเป็ดแดง
หูหมีขาว หม้อแกงลิงเขา ยางบูเก๊ะ ศรีฮาลา ศรียะลา                เทพพนม
                                                                นมสวรรค์ใต้
นราธิวาส กอกแดง คาปองแสด เครือพูเงิน                            ปาล์มบังสูรย์
โงงงัง จันทร์ม่วง ชงโคป่าดอกแดง โชคนุ้ย                         ปาหนันช้าง
ท่อมหมูก้านยาว ใบสีทอง ยมดอย ย่านจะงอย                          ปุดเดือน
ย่านตีนควาย ลูกหัวนก สักปีก สังหยูดอกแดง                        โป๊ยกั๊กป่า
ส้านมลายู                                                       ม่วงบาลา
ปาล์มหลังขาว ปาล์มพระราหู        พลับพลึงธาร




                                                      บัวผุด
                                                               โนรีปนหยี
                                                                    ั้
ไผ่เฉียงรุน
                                               กุหลาบมลายู



                                                                กกเขาสก
กล้วยไม้รองเท้านารีช่องอ่างทอง
กระดังงา๶ขา         จาลา                  พรหมขาว         พุดภูเก็ต




 กะพ้อสี่สิบ                                               พุดชมพู
                 บุหงาลาเจียก
                                          ปาหนันขี้แมว

  จาปาขอม                                                ปาหนันช้าง
                                ศรียะลา
                   รักนา
บุหรงก้านเรียบ                                             เล็งเก็ง
๶หตุผลใȨาร๶ลือกโครงการ

           เพื่ อ ให้ มี ศู น ย์ วิ จั ย ท าหน้ า ที่ ศึ ก ษา
ค้ น คว้ า วิ จั ย พรรณไม้ ห ายาก และไม้ ที่ มี
คุณค่าที่ถูกทาลายจากมนุษย์หรือเกิดจากภัย
ธรรมชาติ และมี ก ารขยายพั น ธุ์ ไ ม้ ซึ่ ง ช่ ว ย
เรื่ อ งลดการสู ญ พั น ธุ์ ข องไม้ ห ายากทาง
ภาคใต้ที่มีประโยชน์ต่อป่าดงดิบชื้นทาให้มี
ระบบนิเวศทางธรรมชาติอย่างอุดมสมบูรณ์
และส่งผลให้ลดปัญหาโลกร้อนอีกด้วย
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อเป็นศูนย์กลางการศึกษา ค้นหว้า วิจัยพรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่นทางภาคใต้

2. เพื่อเป็นศูนย์กลางให้ข้อมูลข่าวสาร และจัดอบรม การทดลองให้แก่เยาวชน
   นักศึกษา และผู้สนใจ

3. เพื่อศึกษาแนวทางการวิจัยจากทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ
   แบบบูรณาการไปใช้ในการพัฒนา นโยบายและดาเนินการอนุรักษ์ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
   และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยประชาชนมีส่วนร่วม

4. เพื่อเป็นส่วนจัดนิทรรศการเกี่ยวกับพรรณไม้ในด้านต่างๆ และจาหน่ายพันธุ์ไม้
    แก่ผู้ที่สนใจ

5. เพื่อเป็นสวนพฤกษศาสตร์ขนาดเล็กให้ผู้เข้าชมพักผ่อนหย่อนใจ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1.เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัยพรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่นทางภาคใต้

2.เพื่อศึกษาความรู้ในเรื่องสภาพธรรมชาติของพรรณไม้หายากในเขตป่าดงดิบชื้นทางภาคใต้

3.เพื่อศึกษาเรือนปลูกทดลอง เพาะชาพรรณไม้

4.เพื่อศึกษาแนวทางการจัดหมวดหมูพรรณไม้ให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจในการจัดแสดงงาน
                               ่

5.เพื่อศึกษาด้านภูมิสถาปัตยกรรมในการจัดสวนพฤกษศาสตร์ และจัดสวนในการแสดงงาน
ขอบเขตของโครงการ

1.เพื่อให้บุคลากร นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจได้มาศึกษา ค้นคว้า
  วิจัยพรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่น

2.เพื่อมอบความรู้ให้แก่บุคคลที่มาฝึกอบรม และสนใจการทดลองพรรณไม้

3.เพื่อแสดงให้เห็นส่วนการทดลอง และเพาะชาพรรณไม้

4.เพื่อเป็นสถานที่ในส่วนการจัดแสดง และร้านขายพรรณไม้
ขอบเขตการศึกษาโครงการ


1.ศึกษารูปแบบและลักษณะของศูนย์ฯ
2.ศึกษาโครงสร้าง วิธีการดาเนินงานของศูนย์ฯ
3.ศึกษารูปแบบการจัดอบรม
4.ศึกษาวิธีการทดลอง เพาะปลูก พรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่น
5.ศึกษาวิธีการหรือรูปแบบการจัดแสดงพรรณไม้
6.ศึกษารายละเอียดโครงการด้านต่างๆ ดังนี้ วัตถุประสงค์ กิจกรรม
  สภาพแวดล้อม และองค์ประกอบอาคาร
7.ศึกษาตัวอย่างอาคารประเภทเดียวกัน ที่ใกล้เคียงกับโครงการทั้งในประเทศ
  และต่างประเทศ
8.ศึกษาการเสนองานออกแบบขั้นสมบูรณ์
องค์ประกอบหลักของโครงการ

1.ส่วนอานวยการ
       1.1 ฝ่ายบริหาร           1.3 ฝ่ายการคลัง
                                1.4 ฝ่ายพัสดุ
          -ห้อง ผอ.ศูนย์ฯ
                                1.5 ฝ่ายทะเบียน
          -ห้องรอง ผอ. ศูนย์ฯ   1.6 ฝ่ายอาคารสถานที่ และยานพาหนะ
                                โถงพักคอย
          -ห้องประชุม
                                ห้องเก็บของ
       1.2 ฝ่ายธุรการ           ห้องน้า
          -ห้องหัวหน้าฝ่าย
          -ห้องธุรการ
องค์ประกอบหลักของโครงการ

2.ส่วนวิจัย
         2.1 Laboratory
              -ห้องปฏิบัติการชีววิทยา     -ห้องมืด
              -ห้องปฏิบัติการชีวเคมี      -ห้องเก็บของ
              -ห้องเย็น                   -ห้องปฏิบัติการเอนกประสงค์
              -ห้องเพาะเชื้อ              -ห้องเตรียมตัวอย่าง
              -ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
              -ห้องเตรียมสารอาหาร
              -ห้องคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบหลักของโครงการ

2.2 ฝ่ายเจ้าหน้าที่       2.3 หอพรรณไม้            2.4 แปลงทดลอง
    -ห้องหัวหน้าฝ่าย         -ห้องหัวหน้าฝ่าย        -โรงเก็บอุปกรณ์
    -ห้องนักวิจัย            -ห้องเตรียมตัวอย่าง     -เรือนเพาะปลูก
    -Lounge                  -ห้องนายทะเบียน         -เรือนควบคุมสภาพแวดล้อม
    -ห้องสมุด
    -ห้องน้า
องค์ประกอบหลักของโครงการ

3.ส่วนวิชาการ
      3.1 ห้องฝึกอบรม
                -ห้องหัวหน้าฝ่าย         -Pantry/Coffee Shop
                -ส่วนทางานเจ้าหน้าที่    -ห้องเตรียมอุปกรณ์
                -ห้องเก็บเอกสาร          -Lecture Room
                -โถงพักคอย               -ห้องเก็บอุปกรณ์
                -ห้องประชุมเอนกประสงค์   -ห้องวิทยากร
                -Control Room            -ห้องโสตทัศนูปกรณ์
                -Foyer                   -ห้องน้า
องค์ประกอบหลักของโครงการ

3.2 ห้องสมุด
3.3 ห้องจัดนิทรรศการ
         -นิทรรศการถาวร
         -นิทรรศการชั่วคราว
         -ห้องเตรียมอุปกรณ์
         -ห้องทดลองสาธิต
องค์ประกอบหลักของโครงการ

4.ส่วนสาธารณะ
            -ฝ่ายประชาสัมพันธ์
            -Lounge
            -ร้านขายต้นไม้
            -Shop (ขายของที่ระลึก)
            -ตั้งแคมป์
            -สวนพฤษศาสตร์
            -ร้านอาหาร
            -ห้องน้า
องค์ประกอบหลักของโครงการ

5.ส่วนบริการ
       5.1 ซ่อมบารุง            5.2 ที่จอดรถ
                                        -รถยนต์
           -ห้องไฟฟ้า
                                        -รถจักรยานยนต์
          -ห้องปั้มน้า                 -รถบัส
          -ห้องเก็บอุปกรณ์             -รถบริการ
          -ห้อง AHU
          -ห้องพักของนักวิจัย
          -ห้องเก็บของ
          -ห้องน้า
THE
END

More Related Content

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)

  • 2. ภาคตะวันออก ลักษณะป่าไม้ในเมืองไทย ในแต่ละภาค ของประเทศไทย จะมีสภาพภูมิประเทศ สภาพ ภูมิอากาศ แหล่งพันธุกรรมของสัตว์ป่าใหญ่ หลายชนิด และระบบนิเวศน์แตกต่างกันไป ซึ่งเป็นตัวกาหนดลักษณะของธรณีพรรณไม้ ที่เจริญเติบโตในแหล่งนั้นๆ พรรณไม้หายาก และไม้ถิ่นเดียว มีเขตการกระจายพันธุ์ตาม ภาคตะวันตกและภาคกลาง ลักษณะป่าในแต่ละภาคของเมืองไทยด้วย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 3. สิ่งที่ทาให้ป่าไม้ทางภาคใต้มีความโดดเด่น ไม่เหมือนที่ไหน คือเป็นคาบสมุทรที่ยื่นออกไปใน ทะเลและมีป่าบนภูเขาและพื้นที่ราบลุมสลับกันไป ่ ดังนั้นพืชที่สามารถพบได้ในป่าลักษณะนี้จะเป็นพืชที่ ชอบความชื้นสูงและหากขึ้นอยู่บนภูเขาเตี้ยๆ ใกล้ ทะเลก็จะเพิ่มคุณลักษณะทนลมทะเลได้ดีขึ้นมาอีก หนึ่งอย่าง เช่นต้นพุดภูเก็ต รักนา โมกเขา เป็นต้น ซึ่ง หลายๆ พรรณไม้เช่น จาลา พรหมขาว เล็งเก็ง ก็จัด ว่าเป็นพรรณไม้ภาคใต้ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์อีกด้วย
  • 4. โครงการศูนย์วิจัย และรวบรวมพรรณไม้ถิ่น เดียวและพรรณไม้หายาก นอกจากจะทาการวิจัยค้นคว้า เก็บรักษารวบรวมพรรณไม้เป็นหลักแล้ว ยังมีหน้าที่ใน การเผยแพร่ความรู้ให้แก่ประชาชนทั่วไปอีกด้วย รวมทั้ง ให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรพืชถิ่นเดียวและ พืชหายากของแต่ละท้องถิ่นอย่างสอดคล้องกับธรรมชาติ ของป่าในพื้นที่นั้นๆ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเก็บ รักษาพรรณไม้และพืชที่หายากและใกล้จะสูญพันธุ์ แต่ อาจมีศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจในอนาคต และเก็บรักษา พันธุ์พืชที่มีคุณลักษณะพิเศษสาหรับการปรับปรุงพัฒนา ต่อไปในอนาคต
  • 5. พรรณไม้หายากและพรรณไม้ประจาถิ่Ȩหล่าȨ้เกิึϾึ้น เฉพาะเขตป่าดงดิบชื้น ทางภาคใต้เท่านั้น มีทั้งหมด 103 ชนิด พรรณไม้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไม้ล้มลุก ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื้อย ที่มา โครงการสารวจพันธุ์พืชเฉพาะถิ่นหายาก ใกล้จะสูญพันธุ์ในพื้นที่อนุรักษ์ทั่วประเทศ
  • 6. พรรณไม้ทางภาคใต้ตอȨน พรรณไม้ทางภาคใต้ตอนล่าง มีทั้งหมด 35 ชนิด มีทั้งหมด 52 ชนิด อยู่ในจังหวัด อยู่ในจังหวัด ชุมพร ตรัง ระนอง สตูล สุราษฎรธานี พัทลุง นครศรีธรรมราช สงขลา พังงา ยะลา กระบี่ ปัตตานี ภูเก็ต นราธิวาส พรรณไม้ทางภาคใต้ตอนล่าง/ ตอนบนมีทั้งหมด 16 ชนิด
  • 7. เขากวาง ชุมพร บุหรงก้านเรียบ ชงโคดา จาปาขอม ประดับหินกลีบพับ สุราษฎร์ธานี กกเขาสก บัวผุด ปาล์มหลังขาว หมากพระราหู ประดับหินใบขน ไผ่เฉียงรุน กล้วยไม้รองเท้านารีช่องอ่างทอง กระเช้าคลองพนม พุดใต้ กระดังงา๶ขา มะเดื่อไทย ย่านชงโค เคลงน้อย พุดทุ่งทอง แคธารโบก เหยื่อกุรัม ระนอง กาหลีขาว เทียนหิน ตะเคียนชันตาแมว นครศรีธรรมราช เคลงกนก ประดับหิน ส้มจี๊ดใต้ พุดกระบี่ หญ้าใบหอก พังงา โมกสยาม หงส์เหิน เอ็นลื่น ปาหนันขีแมว ้ สาวสวรรค์ ไอ้แกรก จาลา โนรีปั้นหยี ท่อมหมูช่อ กระบี่ ประดับหิน พุดกระบี่ ม่วงเบญจา ตีนเป็ดแคระ โมกสยาม ย่านชงโค สักผา เหยื่อกุรัม เลื่อมเขา กะพ้อสี่สิบ สาวน้าตก พุดชมพู พรหมขาว ห่างไก่ใต้ ม่วงลัดดา
  • 8. ก้างปลา ตรัง ลาภูรา หมามุ้ยลาย กาลอ ไก่โต้ง ควนใต้ สตูล เอื้องดิน หนวดปลาดุก เครือพูเงินบน เล็งเก็ง จาปา ภูเก็ต พุดภูเก็ต ก่อปัตตานี แดงประดับ ยะลา กระเช้ายะลา กุหลาบมลาย ไข่มดหิน ส้านแต่ง ตองแข้ง จาปาขอม ชันอ้อย เถาพันธุ์ดง ท่อมหมูหนาม ตีนเป็ดแดง หูหมีขาว หม้อแกงลิงเขา ยางบูเก๊ะ ศรีฮาลา ศรียะลา เทพพนม นมสวรรค์ใต้ นราธิวาส กอกแดง คาปองแสด เครือพูเงิน ปาล์มบังสูรย์ โงงงัง จันทร์ม่วง ชงโคป่าดอกแดง โชคนุ้ย ปาหนันช้าง ท่อมหมูก้านยาว ใบสีทอง ยมดอย ย่านจะงอย ปุดเดือน ย่านตีนควาย ลูกหัวนก สักปีก สังหยูดอกแดง โป๊ยกั๊กป่า ส้านมลายู ม่วงบาลา
  • 9. ปาล์มหลังขาว ปาล์มพระราหู พลับพลึงธาร บัวผุด โนรีปนหยี ั้ ไผ่เฉียงรุน กุหลาบมลายู กกเขาสก กล้วยไม้รองเท้านารีช่องอ่างทอง
  • 10. กระดังงา๶ขา จาลา พรหมขาว พุดภูเก็ต กะพ้อสี่สิบ พุดชมพู บุหงาลาเจียก ปาหนันขี้แมว จาปาขอม ปาหนันช้าง ศรียะลา รักนา บุหรงก้านเรียบ เล็งเก็ง
  • 11. ๶หตุผลใȨาร๶ลือกโครงการ เพื่ อ ให้ มี ศู น ย์ วิ จั ย ท าหน้ า ที่ ศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย พรรณไม้ ห ายาก และไม้ ที่ มี คุณค่าที่ถูกทาลายจากมนุษย์หรือเกิดจากภัย ธรรมชาติ และมี ก ารขยายพั น ธุ์ ไ ม้ ซึ่ ง ช่ ว ย เรื่ อ งลดการสู ญ พั น ธุ์ ข องไม้ ห ายากทาง ภาคใต้ที่มีประโยชน์ต่อป่าดงดิบชื้นทาให้มี ระบบนิเวศทางธรรมชาติอย่างอุดมสมบูรณ์ และส่งผลให้ลดปัญหาโลกร้อนอีกด้วย
  • 12. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อเป็นศูนย์กลางการศึกษา ค้นหว้า วิจัยพรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่นทางภาคใต้ 2. เพื่อเป็นศูนย์กลางให้ข้อมูลข่าวสาร และจัดอบรม การทดลองให้แก่เยาวชน นักศึกษา และผู้สนใจ 3. เพื่อศึกษาแนวทางการวิจัยจากทรัพยากรป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ แบบบูรณาการไปใช้ในการพัฒนา นโยบายและดาเนินการอนุรักษ์ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยประชาชนมีส่วนร่วม 4. เพื่อเป็นส่วนจัดนิทรรศการเกี่ยวกับพรรณไม้ในด้านต่างๆ และจาหน่ายพันธุ์ไม้ แก่ผู้ที่สนใจ 5. เพื่อเป็นสวนพฤกษศาสตร์ขนาดเล็กให้ผู้เข้าชมพักผ่อนหย่อนใจ
  • 13. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัยพรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่นทางภาคใต้ 2.เพื่อศึกษาความรู้ในเรื่องสภาพธรรมชาติของพรรณไม้หายากในเขตป่าดงดิบชื้นทางภาคใต้ 3.เพื่อศึกษาเรือนปลูกทดลอง เพาะชาพรรณไม้ 4.เพื่อศึกษาแนวทางการจัดหมวดหมูพรรณไม้ให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจในการจัดแสดงงาน ่ 5.เพื่อศึกษาด้านภูมิสถาปัตยกรรมในการจัดสวนพฤกษศาสตร์ และจัดสวนในการแสดงงาน
  • 14. ขอบเขตของโครงการ 1.เพื่อให้บุคลากร นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจได้มาศึกษา ค้นคว้า วิจัยพรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่น 2.เพื่อมอบความรู้ให้แก่บุคคลที่มาฝึกอบรม และสนใจการทดลองพรรณไม้ 3.เพื่อแสดงให้เห็นส่วนการทดลอง และเพาะชาพรรณไม้ 4.เพื่อเป็นสถานที่ในส่วนการจัดแสดง และร้านขายพรรณไม้
  • 15. ขอบเขตการศึกษาโครงการ 1.ศึกษารูปแบบและลักษณะของศูนย์ฯ 2.ศึกษาโครงสร้าง วิธีการดาเนินงานของศูนย์ฯ 3.ศึกษารูปแบบการจัดอบรม 4.ศึกษาวิธีการทดลอง เพาะปลูก พรรณไม้หายากและไม้ประจาถิ่น 5.ศึกษาวิธีการหรือรูปแบบการจัดแสดงพรรณไม้ 6.ศึกษารายละเอียดโครงการด้านต่างๆ ดังนี้ วัตถุประสงค์ กิจกรรม สภาพแวดล้อม และองค์ประกอบอาคาร 7.ศึกษาตัวอย่างอาคารประเภทเดียวกัน ที่ใกล้เคียงกับโครงการทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 8.ศึกษาการเสนองานออกแบบขั้นสมบูรณ์
  • 16. องค์ประกอบหลักของโครงการ 1.ส่วนอานวยการ 1.1 ฝ่ายบริหาร 1.3 ฝ่ายการคลัง 1.4 ฝ่ายพัสดุ -ห้อง ผอ.ศูนย์ฯ 1.5 ฝ่ายทะเบียน -ห้องรอง ผอ. ศูนย์ฯ 1.6 ฝ่ายอาคารสถานที่ และยานพาหนะ โถงพักคอย -ห้องประชุม ห้องเก็บของ 1.2 ฝ่ายธุรการ ห้องน้า -ห้องหัวหน้าฝ่าย -ห้องธุรการ
  • 17. องค์ประกอบหลักของโครงการ 2.ส่วนวิจัย 2.1 Laboratory -ห้องปฏิบัติการชีววิทยา -ห้องมืด -ห้องปฏิบัติการชีวเคมี -ห้องเก็บของ -ห้องเย็น -ห้องปฏิบัติการเอนกประสงค์ -ห้องเพาะเชื้อ -ห้องเตรียมตัวอย่าง -ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ -ห้องเตรียมสารอาหาร -ห้องคอมพิวเตอร์
  • 18. องค์ประกอบหลักของโครงการ 2.2 ฝ่ายเจ้าหน้าที่ 2.3 หอพรรณไม้ 2.4 แปลงทดลอง -ห้องหัวหน้าฝ่าย -ห้องหัวหน้าฝ่าย -โรงเก็บอุปกรณ์ -ห้องนักวิจัย -ห้องเตรียมตัวอย่าง -เรือนเพาะปลูก -Lounge -ห้องนายทะเบียน -เรือนควบคุมสภาพแวดล้อม -ห้องสมุด -ห้องน้า
  • 19. องค์ประกอบหลักของโครงการ 3.ส่วนวิชาการ 3.1 ห้องฝึกอบรม -ห้องหัวหน้าฝ่าย -Pantry/Coffee Shop -ส่วนทางานเจ้าหน้าที่ -ห้องเตรียมอุปกรณ์ -ห้องเก็บเอกสาร -Lecture Room -โถงพักคอย -ห้องเก็บอุปกรณ์ -ห้องประชุมเอนกประสงค์ -ห้องวิทยากร -Control Room -ห้องโสตทัศนูปกรณ์ -Foyer -ห้องน้า
  • 20. องค์ประกอบหลักของโครงการ 3.2 ห้องสมุด 3.3 ห้องจัดนิทรรศการ -นิทรรศการถาวร -นิทรรศการชั่วคราว -ห้องเตรียมอุปกรณ์ -ห้องทดลองสาธิต
  • 21. องค์ประกอบหลักของโครงการ 4.ส่วนสาธารณะ -ฝ่ายประชาสัมพันธ์ -Lounge -ร้านขายต้นไม้ -Shop (ขายของที่ระลึก) -ตั้งแคมป์ -สวนพฤษศาสตร์ -ร้านอาหาร -ห้องน้า
  • 22. องค์ประกอบหลักของโครงการ 5.ส่วนบริการ 5.1 ซ่อมบารุง 5.2 ที่จอดรถ -รถยนต์ -ห้องไฟฟ้า -รถจักรยานยนต์ -ห้องปั้มน้า -รถบัส -ห้องเก็บอุปกรณ์ -รถบริการ -ห้อง AHU -ห้องพักของนักวิจัย -ห้องเก็บของ -ห้องน้า