ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 
ปีการศึกษา 2557 
ชื่อโครงงาน Good Appearance 
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว ปริมญาภรณ์ โชติพิชชานันท์ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 10 
2.นางสาว กนกกาญจน์ นิพรรัมย์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 10 
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2 
ใบงาน 
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 
สมาชิกในกลุ่ม 2 
1.นางสาวปริมญาภรณ์ โชติพิชชานันท์ เลขที่ 3 2.นางสาวกนกกาญจน์ นิพรรัมย์ เลขที่ 6 
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
- ดูดีอย่างไรให้ดูดี 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) - Good Appearance 
ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน 
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวปริมญาภรณ์ โชติพิชชานันท์ 2.นางสาวกนกกาญจน์ นิพรรัมย์ 
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
- ในปัจจุบันประชากรของคนไทยมีแนวโน้มที่จะมีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพสูง สาเหตุส่วนมากก็ มาจากการบริโภคที่ไม่ถูกวิธีการ การบริโภคไม่ตรงตามหลักโภชนาการ บางคนขาดสารอาหารตั้งแต่เด็ก และเมื่อโตมา ร่างกายก็ไม่สมบูรณ์แข็งแรง ทาให้ป่วยง่าย เป็นโรคต่างๆ อีกทั้งพฤติกรรมการกินที่ผิด เนื่องจากครอบครัวตามใจลูกจนเกินไป จนเกิดปัญหาที่ใหญ่หลวงสาหรับเด็กไทยในปัจจุบันนี้ เช่นโรคอ้วน และอาหารในปัจจุบันนี้พบว่าไม่ค่อยสะอาด พบสารแปลกปลอมมากมาย อีกทั้งยังมีให้เลือกบริโภคมากมาย หลายชนิดโดยเฉพาะฟ้าตฟู้ดที่เป็นสาเหตุของการทางายสุขภาพของคนไทย เนื่องจากสะดวกในการหาซื้อ ถึงราคาจะแพงแต่มันเป็นที่นิยมในปัจจุบันจึงมีผู้คนบริโภคมากมายโดยไม่คานึงถึงสุขภาพของตนเอง การ ทานอาหารพวกนี้ไม่ได้ทาให้เราอ้วนหรือเสียสุขภาพกายเพียงอย่างเดียว ทาให้เราเสียสุขภาพจิตไปด้วย เนื่องจากรูปลักษณ์ภายนอกไม่สวยงาม อ้วนเกินไป สิวขึ้น ทาให้กังวลว่าจะมีคนมองเรายังไง รูปลักษณ์ ภายนอกก็เป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งในการใช้ชีวิต เช่น การรับสมัครพนักงาน บริษัทก็ส่วนมากก็ต้องการ พนักงานที่เก่งด้วยและบุกคลิกภายในนอกดูดี น่านับถือ เรามีความรู้เพียงอย่างเดียวไม่ได้ต้องมีความมั่นใจ ในตนเองอีกด้วย การมีรูปลักษณ์ที่ดีก็ถือว่าเป็นการเสริมสร้างความมั่นใจให้ตนเองเหมือนกัน ทางคณะ ผู้จัดทาจึงได้มีการรวบรวมวิธีการดูแลสุขภาพให้ได้รู้กัน เช่น การบริโภคที่ดี การออกกาลังกาย เพื่อให้ ประชากรของไทยมีสุขภาพที่ดีขึ้นตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ
3 
วัตถุประสงค์ 
1.เพื่อให้ทุกๆคน ทุกเพศทุกวัย มีสุขภาพที่ดีขึ้น 
2.เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น ร่างกายดูเป็นสัดส่วน ดูแข็งแรง 
3.เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้ตัวเรา เมื่อเรามีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น ความมั่นใจของเราก็จะมากขึ้นด้วย 
ขอบเขตโครงงาน เหมาะสาหรับวัยรุ่นจนถึงวัยทางาน ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ภายนอกและสุขภาพร่างกายให้ไปในทางที่ ดีขึ้น 
หลักการและทฤษฎี 
การออกกาลังกาย ถือว่าเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์กับร่างกายอย่างมาก ในปัจจุบันมีผู้ให้ความสนใจใน การออกกาลังกายมากขึ้น เราจึงควรมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกาลังกาย สามารถเลือกวิธีการออกกาลัง กายที่เหมาะสม เพื่อให้การออกกาลังกายนั้นเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ 
ชนิดของการออกกาลังกาย 
1. Aerobic exercise คือ การออกกาลังกายที่ไม่รุนแรงมากแต่มีความต่อเนื่อง เช่น เดิน วิ่งเหยาะ ๆ วิ่ง ทางไกล ว่ายน้า ถีบจักรยาน กระโดดเชือก เต้นแอโรบิค เป็นต้น เป็นการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพควร ทาเป็นประจา 
2. Anaerobic exercise คือ การออกกาลังกายแบบช่วยกลั้นลมหายใจ เช่น วิ่งระยะสั้น ยกน้าหนัก เทนนิส เป็นต้น 
การเตรียมตัวก่อนออกกาลังกาย 
 ออกกาลังกายหลังรับประทานอาหารอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง 
 หลีกเลี่ยงการออกกาลังกายทันทีหลังตื่นนอน และควรหยุดออกกาลังกายอย่างน้อย 3 ชั่วโมงก่อนเข้า นอน 
 ควรดื่มน้าหนึ่งแก้ว ก่อนออกมาซ้อมวิ่ง และพยายามดื่มน้าให้มากทุกวัน วิ่งเสร็จแล้วก็ควรดื่มน้าด้วย เพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดน้า 
 เลือกชุดกีฬาและรองเท้าที่เหมาะสมกับชนิดของกีฬา เช่น ชุดวิ่งควรจะเบาและระบายความร้อนจาก ร่างกายได้ดี ควรเลือกให้เหมาะกับสภาพอากาศ เช่น เสื้อกล้ามเหมาะกับฤดูร้อน ชุดวอร์มเหมาะกับ อากาศหนาวเย็น 
 ถ้าไม่สบาย เป็นไข้หรือท้องเสีย ควรงดการซ้อมวิ่ง ถ้าขัดเคล็ดยอก แพลง ก็ควรลดการวิ่งลง อาจเลือก การออกกาลังกายแบบอื่นทดแทน 
 ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
4 
ขั้นตอนการออกกาลังกาย 
1. การอบอุ่นร่างกายหรือการอุ่นเครื่อง (warm up) 
เป็นการเตรียมร่างกายโดยเฉพาะปอดและหัวใจให้พร้อมที่จะรับการออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายที่ดีก็คือ กิจกรรมที่สามารถทาให้อุณหภูมิร่างกาย อุณหภูมิกล้ามเนื้อและปริมาณเลือดที่ไหลเวียนสู่กล้ามเนื้อที่จะใช้งาน เพิ่มสูงขึ้นจากสภาวะพัก อาจเริ่มด้วยการเดินช้าๆ แล้วค่อยๆเดินเร็วขึ้นจนชีพจรของเราเริ่มเต้นเร็วขึ้น จาก 70 ครั้งต่อนาทีมาเป็น 100 หรือ 110 ครั้งต่อนาที ช่วงนี้ร่างกายของเราจะค่อยๆปรับตัว ทาให้ไม่เกิดอันตรายในการ ออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายควรใช้เวลาอย่างน้อย 5-10 นาที 
2. การยืดกล้ามเนื้อ (stretching) 
เป็นการเตรียมกล้ามเนื้อ เอ็น และเอ็นข้อต่อของร่างกายให้เตรียมพร้อมที่จะรับการออกกาลังกาย ทาให้ไม่เกิด การบาดเจ็บขึ้นเมื่อเราเริ่มออกกาลังกาย ช่วงนี้ก็ใช้เวลา 5-10 นาที 
3. ช่วงของการออกกาลังกาย (training zone exercise) 
ช่วงนี้ก็คือช่วงของการออกกาลังกายแบบแอโรบิค (aerobic exercise) เช่นถ้าวิ่ง ก็จะวิ่งให้มีความหนัก เพียงพอ คือให้หัวใจเต้นประมาณ 60-80 % ของชีพจรสูงสุด ซึ่งจะเป็นช่วงที่มีผลต่อการฝึกปอดและหัวใจโดยที่ ไม่มีอันตรายต่อร่างกาย 
4. การผ่อนกาย (cool down) 
หลังการออกกาลังกายเป็นการปรับสภาพร่างกายจากการออกกาลังกายมาเป็นสภาพปกติ ถ้าเราหยุดทันที หัวใจ ที่เคยเต้น 130 ? 140 ครั้งต่อนาที จะกลับมาสู่สภาพปกติ คือเต้น 70 ครั้งต่อนาทีในเวลาสั้น ๆ ก็อาจเกิด อันตรายได้ เพราะปอดและหัวใจปรับตัวไม่ทัน เนื่องจากปริมาณเลือดของร่างกายส่วนใหญ่จะไหลเวียนไปยัง กล้ามเนื้อขณะออกกาลังกาย หากหยุดออกกาลังกายทันทีทันใดจะทาให้เลือดที่ไหลเวียนกลับสู่หัวใจน้อยลงโดย เลือดจะคั่งค้างอยู่ที่หลอดเลือดภายในกล้ามเนื้อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อของขา (pooling effect) ส่งผลให้ปริมาณ เลือดที่บีบออกจากหัวใจเพื่อส่งไปอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายลดลงโดยเฉพาะสมองจึงทาให้เกิดอาการหน้ามืด เป็นลมได้ เราจึงต้องใช้เวลา 5-10 นาทีในการปรับตัวคือ ค่อยๆลดชีพจรลงจนเป็นปกติ 
5. การยืดกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกาย (stretching) 
เพื่อช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกายและช่วยลดอาการตึงหรือเกร็งของกล้ามเนื้อและจะเป็นการ เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย
5 
วิธีดาเนินงาน 
แนวทางการดาเนินงาน 
-หาหัวข้อ 
-รวบรวมข้อมูล -วิเคราะห์ข้อมูล 
-สรุป -นาเสนอ 
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 
คอมพิวเตอร์ 
งบประมาณ 
500-1000 บาท 
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน 
ลาดับ 
ที่ 
ขั้นตอน 
สัปดาห์ที่ 
ผู้รับผิดชอบ 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
1 
คิดหัวข้อโครงงาน 
2 
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 
3 
จัดทาโครงร่างงาน 
4 
ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 
5 
ปรับปรุงทดสอบ 
6 
การทาเอกสารรายงาน 
7 
ประเมินผลงาน 
8 
นาเสนอโครงงาน 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 
คาดหวังว่าผู้ที่ทาตามวิธีนี้ จะมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น มีบุคลิกภาพที่ดี 
สถานที่ดาเนินการ -บ้าน 
-โรงเรียน 
-สนามกีฬา 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขะศึกษา และพละศึกษา 
แหล่งอ้างอิง 
http://www.yaandyou.net/index.php/2010-09-02-08-49-20/item/484-2010-10-05-03-50-34.html

More Related Content

2557 โครงงาน คอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน Good Appearance ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว ปริมญาภรณ์ โชติพิชชานันท์ เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 10 2.นางสาว กนกกาญจน์ นิพรรัมย์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1.นางสาวปริมญาภรณ์ โชติพิชชานันท์ เลขที่ 3 2.นางสาวกนกกาญจน์ นิพรรัมย์ เลขที่ 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) - ดูดีอย่างไรให้ดูดี ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) - Good Appearance ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวปริมญาภรณ์ โชติพิชชานันท์ 2.นางสาวกนกกาญจน์ นิพรรัมย์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน - ในปัจจุบันประชากรของคนไทยมีแนวโน้มที่จะมีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพสูง สาเหตุส่วนมากก็ มาจากการบริโภคที่ไม่ถูกวิธีการ การบริโภคไม่ตรงตามหลักโภชนาการ บางคนขาดสารอาหารตั้งแต่เด็ก และเมื่อโตมา ร่างกายก็ไม่สมบูรณ์แข็งแรง ทาให้ป่วยง่าย เป็นโรคต่างๆ อีกทั้งพฤติกรรมการกินที่ผิด เนื่องจากครอบครัวตามใจลูกจนเกินไป จนเกิดปัญหาที่ใหญ่หลวงสาหรับเด็กไทยในปัจจุบันนี้ เช่นโรคอ้วน และอาหารในปัจจุบันนี้พบว่าไม่ค่อยสะอาด พบสารแปลกปลอมมากมาย อีกทั้งยังมีให้เลือกบริโภคมากมาย หลายชนิดโดยเฉพาะฟ้าตฟู้ดที่เป็นสาเหตุของการทางายสุขภาพของคนไทย เนื่องจากสะดวกในการหาซื้อ ถึงราคาจะแพงแต่มันเป็นที่นิยมในปัจจุบันจึงมีผู้คนบริโภคมากมายโดยไม่คานึงถึงสุขภาพของตนเอง การ ทานอาหารพวกนี้ไม่ได้ทาให้เราอ้วนหรือเสียสุขภาพกายเพียงอย่างเดียว ทาให้เราเสียสุขภาพจิตไปด้วย เนื่องจากรูปลักษณ์ภายนอกไม่สวยงาม อ้วนเกินไป สิวขึ้น ทาให้กังวลว่าจะมีคนมองเรายังไง รูปลักษณ์ ภายนอกก็เป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งในการใช้ชีวิต เช่น การรับสมัครพนักงาน บริษัทก็ส่วนมากก็ต้องการ พนักงานที่เก่งด้วยและบุกคลิกภายในนอกดูดี น่านับถือ เรามีความรู้เพียงอย่างเดียวไม่ได้ต้องมีความมั่นใจ ในตนเองอีกด้วย การมีรูปลักษณ์ที่ดีก็ถือว่าเป็นการเสริมสร้างความมั่นใจให้ตนเองเหมือนกัน ทางคณะ ผู้จัดทาจึงได้มีการรวบรวมวิธีการดูแลสุขภาพให้ได้รู้กัน เช่น การบริโภคที่ดี การออกกาลังกาย เพื่อให้ ประชากรของไทยมีสุขภาพที่ดีขึ้นตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ทุกๆคน ทุกเพศทุกวัย มีสุขภาพที่ดีขึ้น 2.เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น ร่างกายดูเป็นสัดส่วน ดูแข็งแรง 3.เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้ตัวเรา เมื่อเรามีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น ความมั่นใจของเราก็จะมากขึ้นด้วย ขอบเขตโครงงาน เหมาะสาหรับวัยรุ่นจนถึงวัยทางาน ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ภายนอกและสุขภาพร่างกายให้ไปในทางที่ ดีขึ้น หลักการและทฤษฎี การออกกาลังกาย ถือว่าเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์กับร่างกายอย่างมาก ในปัจจุบันมีผู้ให้ความสนใจใน การออกกาลังกายมากขึ้น เราจึงควรมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออกกาลังกาย สามารถเลือกวิธีการออกกาลัง กายที่เหมาะสม เพื่อให้การออกกาลังกายนั้นเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ชนิดของการออกกาลังกาย 1. Aerobic exercise คือ การออกกาลังกายที่ไม่รุนแรงมากแต่มีความต่อเนื่อง เช่น เดิน วิ่งเหยาะ ๆ วิ่ง ทางไกล ว่ายน้า ถีบจักรยาน กระโดดเชือก เต้นแอโรบิค เป็นต้น เป็นการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพควร ทาเป็นประจา 2. Anaerobic exercise คือ การออกกาลังกายแบบช่วยกลั้นลมหายใจ เช่น วิ่งระยะสั้น ยกน้าหนัก เทนนิส เป็นต้น การเตรียมตัวก่อนออกกาลังกาย  ออกกาลังกายหลังรับประทานอาหารอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง  หลีกเลี่ยงการออกกาลังกายทันทีหลังตื่นนอน และควรหยุดออกกาลังกายอย่างน้อย 3 ชั่วโมงก่อนเข้า นอน  ควรดื่มน้าหนึ่งแก้ว ก่อนออกมาซ้อมวิ่ง และพยายามดื่มน้าให้มากทุกวัน วิ่งเสร็จแล้วก็ควรดื่มน้าด้วย เพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดน้า  เลือกชุดกีฬาและรองเท้าที่เหมาะสมกับชนิดของกีฬา เช่น ชุดวิ่งควรจะเบาและระบายความร้อนจาก ร่างกายได้ดี ควรเลือกให้เหมาะกับสภาพอากาศ เช่น เสื้อกล้ามเหมาะกับฤดูร้อน ชุดวอร์มเหมาะกับ อากาศหนาวเย็น  ถ้าไม่สบาย เป็นไข้หรือท้องเสีย ควรงดการซ้อมวิ่ง ถ้าขัดเคล็ดยอก แพลง ก็ควรลดการวิ่งลง อาจเลือก การออกกาลังกายแบบอื่นทดแทน  ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
  • 4. 4 ขั้นตอนการออกกาลังกาย 1. การอบอุ่นร่างกายหรือการอุ่นเครื่อง (warm up) เป็นการเตรียมร่างกายโดยเฉพาะปอดและหัวใจให้พร้อมที่จะรับการออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายที่ดีก็คือ กิจกรรมที่สามารถทาให้อุณหภูมิร่างกาย อุณหภูมิกล้ามเนื้อและปริมาณเลือดที่ไหลเวียนสู่กล้ามเนื้อที่จะใช้งาน เพิ่มสูงขึ้นจากสภาวะพัก อาจเริ่มด้วยการเดินช้าๆ แล้วค่อยๆเดินเร็วขึ้นจนชีพจรของเราเริ่มเต้นเร็วขึ้น จาก 70 ครั้งต่อนาทีมาเป็น 100 หรือ 110 ครั้งต่อนาที ช่วงนี้ร่างกายของเราจะค่อยๆปรับตัว ทาให้ไม่เกิดอันตรายในการ ออกกาลังกาย การอบอุ่นร่างกายควรใช้เวลาอย่างน้อย 5-10 นาที 2. การยืดกล้ามเนื้อ (stretching) เป็นการเตรียมกล้ามเนื้อ เอ็น และเอ็นข้อต่อของร่างกายให้เตรียมพร้อมที่จะรับการออกกาลังกาย ทาให้ไม่เกิด การบาดเจ็บขึ้นเมื่อเราเริ่มออกกาลังกาย ช่วงนี้ก็ใช้เวลา 5-10 นาที 3. ช่วงของการออกกาลังกาย (training zone exercise) ช่วงนี้ก็คือช่วงของการออกกาลังกายแบบแอโรบิค (aerobic exercise) เช่นถ้าวิ่ง ก็จะวิ่งให้มีความหนัก เพียงพอ คือให้หัวใจเต้นประมาณ 60-80 % ของชีพจรสูงสุด ซึ่งจะเป็นช่วงที่มีผลต่อการฝึกปอดและหัวใจโดยที่ ไม่มีอันตรายต่อร่างกาย 4. การผ่อนกาย (cool down) หลังการออกกาลังกายเป็นการปรับสภาพร่างกายจากการออกกาลังกายมาเป็นสภาพปกติ ถ้าเราหยุดทันที หัวใจ ที่เคยเต้น 130 ? 140 ครั้งต่อนาที จะกลับมาสู่สภาพปกติ คือเต้น 70 ครั้งต่อนาทีในเวลาสั้น ๆ ก็อาจเกิด อันตรายได้ เพราะปอดและหัวใจปรับตัวไม่ทัน เนื่องจากปริมาณเลือดของร่างกายส่วนใหญ่จะไหลเวียนไปยัง กล้ามเนื้อขณะออกกาลังกาย หากหยุดออกกาลังกายทันทีทันใดจะทาให้เลือดที่ไหลเวียนกลับสู่หัวใจน้อยลงโดย เลือดจะคั่งค้างอยู่ที่หลอดเลือดภายในกล้ามเนื้อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อของขา (pooling effect) ส่งผลให้ปริมาณ เลือดที่บีบออกจากหัวใจเพื่อส่งไปอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายลดลงโดยเฉพาะสมองจึงทาให้เกิดอาการหน้ามืด เป็นลมได้ เราจึงต้องใช้เวลา 5-10 นาทีในการปรับตัวคือ ค่อยๆลดชีพจรลงจนเป็นปกติ 5. การยืดกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกาย (stretching) เพื่อช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหลังการออกกาลังกายและช่วยลดอาการตึงหรือเกร็งของกล้ามเนื้อและจะเป็นการ เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -หาหัวข้อ -รวบรวมข้อมูล -วิเคราะห์ข้อมูล -สรุป -นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ งบประมาณ 500-1000 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดหวังว่าผู้ที่ทาตามวิธีนี้ จะมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น มีบุคลิกภาพที่ดี สถานที่ดาเนินการ -บ้าน -โรงเรียน -สนามกีฬา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขะศึกษา และพละศึกษา แหล่งอ้างอิง http://www.yaandyou.net/index.php/2010-09-02-08-49-20/item/484-2010-10-05-03-50-34.html