ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3

คอนกรีต คอนกรีต
คอนกรีตดิน
1 2
Workshop
ถามว่า อันไหนไหลราบเรียบกว่ากัน
รอยต่อ รอยต่อ
พื้นอาคาร
คลองดิน
เกิดการปั่นป่ วนของน้า
4.4 ส่วนป้ องกันการกัดเซาะด้านเหนือน้าและท้ายน้า
(Upstream and Downstream
Protection)
ช่วงต่อของตัวอาคารกับเนื้อดินเดิมที่
รองรับอาคารนั้น เป็นจุดที่มีการ
เปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์ของความขรุขระ
(Coefficient of roughness) อย่าง
กะทันหัน ซึ่งทาให้ความเร็วของน้า
เปลี่ยนไปโดยทันทีทันใด จึงทาให้เกิดการ
ปั่นป่ วน (turbulent) ซึ่งมีอิทธิพลที่จะกัด
เซาะพื้นผิวดินได้
จึงจาเป็นต้องใช้วัสดุที่มีราคาไม่สูงนักและหาได้
ง่ายในท้องถิ่น และต้องมีขนาดและน้าหนักมาก
พอที่จะต้านกระแสน้าได้มาปิดทับผิวดินใน
ระหว่างช่วงรอยต่อของอาคารกับดินนั้น
(Upstream Protection) (Downstream Protecti
3D
ส่วนป้ องกัน
การกัดเซาะ
หินเรียง
Riprap
หินทิ้ง
Dumped rock
แท่งคอนกรีต
Concrete cube
หินบรรจุในกล่องลวดตาข่าย
Gabian
สมการหาขนาดหินของ
Vb = 2.57 d
โดย Vb – ความเร็วกระแสน้าที่ก้นร่องน้า เป็น ฟุตต่อ
d - ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหิน เป็น นิ้ว
ความถ่วงจาเพาะของหินที่ใช้ 2.65
Berry
สมการหาขนาดหินของ
Vb = 0.5 d s-1
โดย Vb – ความเร็วกระแสน้าที่ก้นร่องน้า เมตรต่อวิน
d - ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหิน เป็น ซม.
S - ความถ่วงจาเพาะของหิน
Mavisและ
Laush
cy
Ha
Hb
La Lp
L
สมการหาความยาวของส่วนป้องกันการกัดเซาะด ้านท ้ายน้าของ
La = 4 C Ha / 13
L = 0.355 C Hb q
Lp = L - La
3D
Bligh
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3


4.5 รอยต่อคอนกรีต (Joints)
Workshop
4.5 รอยต่อคอนกรีต (Joints)
อาคารคอนกรีตที่มีความยาวมากๆ หรือเป็นพื้นที่ขนาด
ใหญ่ หรืออาคารที่ช่วงตอนต่างๆอาจเกิดการทรุดตัว
(Settlement) หรือเกิดการแอ่นตัว (Deflection) ที่ไม่
เท่ากัน จาเป็นต้องกาหนดให้มีรอยต่อเป็นช่วงเป็นตอน
ตามความจาเป็นและเหมาะสม ชนิดของรอยต่อแบ่งออกได้
เป็น 3 ชนิด
1 รอยต่อเพื่อการก่อสร้าง
(Construction Joints)
2 รอยต่อเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
(Expansion and Contraction Joints)
3 รอยต่อเพื่อการควบคุมแรงเค้นส่วนเกิน
(Control Joints)
1 รอยต่อเพื่อการก่อสร้าง
(Construction Joints)
เป็นรอยต่อที่ใช้กับอาคารขนาดใหญ่ซึ่งต้องเทคอนกรีต
จานวนมากติดต่อกัน และระยะเวลาที่ใช้ในการเทคอนกรีต
นั้นเกินกว่าระยะเวลาการแข็งตัวของคอนกรีต (Initial
Setting Time) ดังนั้นถ้าหากยังคงเทคอนกรีตและกระทุ้ง
หรือสั่นคอนกรีตโดยเครื่องสั่น (Vibrator) ในขณะคอนกรีต
เริ่มจะแข็งตัว จะทาให้คอนกรีตลดความแข็งแรง (Strength)
ลงไปมาก ย่อมเป็นผลเสียต่ออาคารส่วนนั้นได้
การกาหนดรอยต่อชนิดนี้จึงขึ้นอยู่กับ
ปริมาณคอนกรีตที่จะใช้เทในแต่ละช่วง
ตอนของรอยต่อที่สามารถเทได้ใน
ระยะเวลาที่ไม่เกินระยะเวลาการแข็งตัว
ของคอนกรีต และควรกาหนดให้รอยต่อ
อยู่ตรงตาแหน่งที่โมเมนต์มีค่าน้อยที่สุด
นอกจากนี้เหล็กเสริมคอนกรีตในช่วงที่
ผ่านรอยต่อจะต้องวางต่อเนื่องกันไป
(ไม่ตัดขาดออกจากกัน)
Workshop
2 รอยต่อเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
(Expansion and Contraction Joints)
Workshop
เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้ว เกิดอะไรขึ้น
เทถนนคอนกรีตยาว 500 ม. เทต่อเนื่อง
?
2 รอยต่อเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
(Expansion and Contraction Joints)
อุณหภูมิของอากาศระหว่างกลางวันกับกลางคืน
หรือในฤดูร้อนกับฤดูหนาวนั้น มีความแตกต่างกัน
มาก ย่อมทาให้คอนกรีตเกิดการยืดและหดตัว
สลับกันไปเช่นนี้เสมอ ซึ่งในขณะที่คอนกรีตยืดตัว
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นอาจทาให้คอนกรีตแตกเพราะ
เกิดแรงเค้นอัด (Compressive Stress) หรือ
ในทางกลับกัน เมื่อคอนกรีตเกิดการหดตัวเพราะ
อุณหภูมิลดลง คอนกรีตก็อาจจะแตกเพราะแรง
เค้นดึง (Tensile Stress) ได้เช่นกัน
การออกแบบรอยต่อชนิดนี้จึงมีความสัมพันธ์กับ
ระยะห่างระหว่างรอยต่อแต่ละช่วง กับระยะห่างของ
คอนกรีตตรงรอยต่อ ซึ่งจะคิดได้จากสูตรการ
ขยายตัวของวัตถุในวิชาความร้อน ดังนี้
dL = Lo .  . t
โดย dL = ระยะห่างของคอนกรีตตรงรอยต่อ เป็น ซม.
Lo = ระยะห่างระหว่างรอยต่อแต่ละช่วง เป็น ซม.
 = สัมประสิทธิ์การขยายตัวตามเส้นของคอนกรีต ซม./องศา ซ.
t = อุณหภูมิของอากาศที่สูงขึ้น เป็น องศา ซ.
Lo dL
งานถนน
หดตัว เนื่องจากอุณหภูมิต่าลง
หดตัว
ทรายรองพื้น
คอนกรีต
รูปแสดง contraction joint
Contraction Joints
ขยายตัว
ทรายรองพื้น
คอนกรีต
รูปแสดง Expansion joint
Dowel bar
Elastic filler
Expansion Joints
รอยต่อตามยาว Longitudinal joint
รอยต่อตามขวาง Transverse joint
Tie bar
DB16 @0.60 m
Long 0.50 m
Dowel bar
RB25 @0.30
m
Long 0.50 m
งานชลประทาน
หดตัวได้ ขยายตัวได้
Rubber water stop
Elastic filler
รูปลักษณะรอยต่อ หน้า 64-67 เอกสาร อ.ปฏิภาณ อมาตยกุล
• Butt Joint
• Sleeper Joint
• Step Joint
• Bell Joint
3 รอยต่อเพื่อการควบคุมแรงเค้นส่วนเกิน
(Control Joints)
อุณหภูมิของอากาศระหว่างกลางวันกับกลางคืน
หรือในฤดูร้อนกับฤดูหนาวนั้น มีความแตกต่างกัน
มาก ย่อมทาให้คอนกรีตเกิดการยืดและหดตัว
สลับกันไปเช่นนี้เสมอ ซึ่งในขณะที่คอนกรีตยืดตัว
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นอาจทาให้คอนกรีตแตกเพราะ
เกิดแรงเค้นอัด (Compressive Stress) หรือ
ในทางกลับกัน เมื่อคอนกรีตเกิดการหดตัวเพราะ
อุณหภูมิลดลง คอนกรีตก็อาจจะแตกเพราะแรง
เค้นดึง (Tensile Stress) ได้เช่นกัน
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3



4.6 ไม้อัดน้าและช่องอัดน้า
(Stop Log and Stop Plank Grooves)
อาคารชลประทานเกือบทุกชนิดที่ใช ้
ทาหน้าที่ปิดกั้นน้าหรือระบายน้าไม่
ว่าจะมีบานบังคับน้าของมันเอง
หรือไม่ก็ตาม มักนิยมทาช่องอัดน้า
(Stop plank groove) ไว ้ทั้ง
ด ้านหน้าและด ้านท ้ายหรือเฉพาะ
ด ้านหน้าของอาคารเสมอ ทั้งนี้เพื่อ
ประโยชน์ที่รองรับไม ้อัดน้า (Stop
log) หรือแผงอัดน้า (Stop plank)
เพื่อทาหน้าที่อัดน้าแทนบานบังคับ
น้าในบางกรณี เช่น บานชารุด หรือ
ในขณะที่ซ่อมบานระบายหรือตอม่อ
3D stop Log
3D ปตร
C B D
A
E
ตารางแสดงขนาดที่เหมาะสม
ความหนาไม ้,นิ้ว ขนาดช่องอัดน้า , นิ้ว ขนาดเหล็กฉาก , นิ้ว
A B C A D E
2 2-1/2 3 1/2 2-1/2 2 1/4
3 3 4 3/4 3 2-1/2 5/16
4 3 5 3/4 3 2-1/2 5/16
6 4 7 1 4 3 3/8
8 5 9 1-1/4 5 3-1/2 3/8
การคานวณไม้อัดน้า
ระดับน้าสูงสุด
h2
h1
w1
w2
ไม ้อัดน้า
ท่อนล่างสุด
b
d
w1
Free Body Diagram
หน่วยแรงดัด ที่เกิดขึ้น f = 6.M/(b.d2)
หน่วยแรงเฉือน ที่เกิดขึ้น v = 3.V/(2b.d)
เทียบกับค่าหน่วยแรงที่ยอมให ้ของไม ้
ดูได ้จากตารางไม ้ทั่วไป
ถ ้าหน่วยแรงที่เกิดขึ้นจริง
มีค่ามากกว่าหน่วยแรงที่ยอมให ้
ต ้องเปลี่ยนขนาดไม ้ให ้ใหญ่ขึ้น
L ความกว ้างช่องผ่านน้า
w
w = 1/2 . (w1+w2) . b
ตัวอย่าง
จงออกแบบไม ้อัดน้าที่ใช ้กับช่องผ่านน้า กว ้าง 4.00 ม. ในเมื่อความลึกของ
น้าสูงสุดด ้านเหนือน้า 2.25 ม. ด ้านท ้ายน้าแห ้ง
ระดับน้าสูงสุด
2.25
2.00
w1
w2
ไม ้อัดน้า
ท่อนล่างสุด
b
d
w1
สมมติใช ้ไม ้แดงขนาด 6x10 นิ้ว หรือ 0.15x0.25 ม.
w1 = 1000 x 2.00 = 2000 กก./ตร.ม.
w2 = 1000 x 2.25 = 2250 กก./ตร.ม.
แรงดันน้าที่กระทาต่อไม ้อัดยาว 1 ม.
w = 1/2 x 0.25(2000+2250) = 531.25 กก./ม.
ความกว ้างช่องน้าผ่าน L = 4.00 ม.
4.00
531.25 กก./ม.
1062.5
SFD
BMD
1062.5
1062.5
V = 1/2 (531.25) (4.00)
= 1062.5 กก.
M = 1/8 (531.25) (4.002)
= 1062.5 กก.-ม.
หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้น
f = 6M/(bd2)
= 6(1062.5)(100) / (25x152)
= 113.33 กก./ซม2
น้อยกว่า 120 OK.
หน่วยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น
v = 3V / (2bd)
= 3(1062.5) / (2x25x15)
= 4.25 กก./ซม2
น้อยกว่า 12 OK.
ดังนั้น ไม ้อัดน้าขนาด 6x12 นิ้ว ใช ้ได ้
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3




4.7 แผ่นรับบาน (Gate seat) ,
แผ่นกันกระทบ (Wall plate) ,
ยางกันน้าบานระบาย (Gate seal)
3D
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3





4.8 ผนังคอนกรีตกันน้า (Diaphragm wall)
3D
การวิเคราะห์โครงสร ้าง
คิดแบบ Fixed Beam
ผนังคอนกรีตกันน้า
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3






4.9 รูระบายน้าเปิดและรูระบายน้าปิด
(Weep Holes and Flap Valves)
Weep holes
Flab valves
ส่วนป้ องกันการกัดเซาะ
รอยต่อคอนกรีต
ไม้อัดน้า
Gate Seat, Wall Plate, Gate
Seal
ผนังคอนกรีตกันน้า
รูระบายน้าเปิ ด รูระบายน้าปิ ด
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้า
Design of Canal and Conveyance Structure
ครั้งที่ 3
ตัวอย่างออกแบบเสริมเหล็กกาแพง
Assignment #3








More Related Content

2558 ครั้งที่3-slideshare