ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน 
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึ 
1 
กษาตามอัธยาศัย โดยมีวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และพันธกิจ 
ที่ใช้เป็นหลักยึดและตัวกากับทิศทางยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานดังก 
ล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ไว้ดังต่อไปนี้ 
วิสัยทัศน์ 
คนไทยทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย เข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบ 
และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงเท่าเทียม เป็นพลเมืองดี 
มีศักยภาพ และมีความพร้อมในการแข่งขันในระดับสากล 
เป้าประสงค์ 
ประชาชนผู้รับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย 
มีความรู้ความสามารถรอบด้านเพียงพอต่อการดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีควา 
มสุขบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 
มีศักยภาพในการผลิตทางเศรษฐกิจ การสร้างสังคมคุณภาพ 
การมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และมีความใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 
พันธกิจ 
สานักงาน กศน. มีพันธกิจหลัก ดังนี้ 
๑. จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย 
มีโอกาสเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
2 
๒. ส่งเสริม 
สนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษาน 
อกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
เพื่อตอบสนองความต้องการทางการศึกษาของประชาชนอย่างหลากหลาย 
๓. 
พัฒนาระบบการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ในการดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ และภารกิจ 
ทั้งระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติของหน่วยงาน สถานศึกษา 
รวมทั้งการส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 
๑. 
๓ ยุทธศาสตร์ที่หวังผลใน ๓ เดือน 
การเร่งปฏิรูปการดา เนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
ให้สามารถขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลทุกระดับในส่วนที่เกี่ยวข้อง 
เพื่อนาไปสู้การปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพตามกรอบเงื่อนไขระยะเว 
ลาที่กาหนดไว้โดย 
๑.๑ ) 
การทบทวนและปรบับทบาทหน้าทขี่องหน่วยงานและสถานศึกษาทุกประเภท 
ทุกระดับ 
ตลอดจนหน่วยจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้น 
ที่ ให้ทาหน้าที่ตามเจตนารมณ์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ “กศน. 
ตาบล” เป็นฐาน (สถานี) เติมเต็มความรู้โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
3 
๑.๒ ) การประเมิน 
ทบทวนและปรบักิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และสอดคล้องกับวิถีชีวิต 
และสภาพปัญหาความเร่งด่วนของแต่ละชุมชน 
ตลอดจนพัฒนาทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิต 
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง 
การพัฒนาชุมชนและสังคมได้อย่างแท้จริง โดยยึดหลักประสิทธิภาพ 
ความโปร่งใส และความคุ้มค่าในการดาเนินงาน 
๑.๓ ) 
กากับและติดตามให้หน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับบริหารการจัดการศึกษ 
านอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยใช้นโยบายและแผน 
ตลอดจนระบบการกระจายอานาจเป็นกลไกการดาเนินงานที่สาคัญ 
โดยมีการสื่อสารสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
เพื่อให้นโยบาย และแผนเป็นเครอื่งมือ 
ในการพัฒนาการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีการนิเทศ กากับติดตาม 
ประเมิน 
และรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ 
๑.๔ ) การกระตนุ้ 
ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษ 
าตามอัธยาศัย ของทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง 
โดยยึดหลักความคล่องตัวในการทางาน 
การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ 
และความต่อเนื่องอย่างยั่งยืนของการเป็นภาคีเครือข่ายซึ่งกันและกัน 
ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ 
๑.๕ ) การเร่งรัดสร้างความเข้าใจกรรมการ กศน. จังหวัด 
กรรมการสถานศึกษา และกรรมการ กศน. ตาบล 
ให้เข้าใจบทบาทหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4 
๑.๖ ) การเร่งรัดพัฒนาครู กศน. ตาบลทุกคน 
ให้สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
๒. 
การเร่งรัดดา เนินการการนา คูปองการศึกษาหรือคูปองการเรียนรตู้ลอดชีวิตมา 
ใช้ 
เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศั 
ย ของประชาชนผู้รับบริการ ให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นธรรมอย่างแท้จริง 
๓. การเร่งรัดปรับปรุงหลักสูตรแกนกลาง 
และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรท้องถนิ่ 
ตลอดจนหลักสูตรที่สอดคล้องกับบริบทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 
รวมถึงการเรียนการสอน ที่มุ่งให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรมนาความรู้ 
และปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 
มีส่วนร่วมในการสร้างความสมานฉันท์ 
และมีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 
กลไกการขับเคลื่อน “กศน.” 
ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
5 
เลขาธิการ กศน. 
กลุ่มสนับสนุน 
กลุ่ม 
กลุ่ม/ศผูนชยช์ส.่ว นกล 
หน่วย าศงน . และ 
สถานตศึกสษน.า ขึ้นต 
รง 
รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. 
ประธานกลมุ่/โซน 
1. ขับเคลื่อนนโยบายสู่การ 
2. นิเทศ/ติดตามงาน 
3. ดูแลการบริหารงานบุคค 
4. อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมา 
สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. 
กศนอาเภอ/เขต 
กศน.ตาบล : ฐานการเรียนรู้ของชุมชน 
บทบาทหน้าที่ 
ปฏิบัติ 
ลในกลุ่ม/โซน 
รองเลขาธิการ กศน. 
ปัจจัยหลักแห่งความ 
สาเร็จ 
ย 
๑. การยึดหลักวิชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาคิดเป็น 
หลักธรรมาภิบาล และผลสัมฤทธใิ์นการบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ 
งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปทั้งภายในองค์กร 
ระหว่างองค์กร และการทางานร่วมกันกับภาคีเครือข่าย
6 
๒. การใช้ยุทธศาสตร/์กลยุทธ์ในการดา เนินงานทั้งที่ยึดพื้นที่ 
ยึดสภาวะแวดล้อม ยึดกลุ่มเป้าหมาย 
ยึดประเด็นปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือประเด็นการพั 
ฒนายึดความสาเร็จ และยึดนโยบายเป็นฐาน 
๓. การเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน 
ทั้งเครือข่ายเชิงพื้นที่ 
เครือข่ายเชิงภารกิจและการสร้างความเข้มแข็งของความร่วมมือและควา 
มยั่งยืนในการเป็นภาคีเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ 
๔. การใช้ กศน.ตา บล 
เป็นฐานและเป็นสถานีปลายทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับประช 
าชนในพื้นที่ 
โดยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพและความพร้อมในการปฏิบัติงานตลอ 
ดเวลา 
๕. การใช้กลมุ่/โซนเป็นกลไกขับเคลอื่นการบริหารนโยบายในระดบัพนื้ที่ 
โดยมีประธานคณะกรรมการบริหารในระดับกลุ่ม/โซนทาหน้าที่ 
เสมือนผู้ช่วยเลขาธิการ กศน.โดยมีการกระจายอานาจ/มอบอานาจ 
เพื่อให้สามารถบริหารนโยบายในระดับพื้นที่ 
ได้อย่างคล่องแคล่วและมีประสิทธิภาพ 
๖. การมีข้อมูลเกยี่วกบักลมุ่เป้าหมายทุกกลมุ่ตามจุดเน้นมาใช้ในการวางแผ 
นการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 
และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
๗.การมีระบบการนิเทศกา กับติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานและการใ 
ช้จ่ายงบประมาณที่สามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการดาเนินงานได้ 
อย่างมีประสิทธิภาพ 
๘. การมีกลไก/ระบบทสี่ามารถเชอื่มโยงการทา งานกับส่วนราชการและหน่ว 
ยงานต่างๆที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการ เช่น
7 
ระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องและการจัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบายเร่ง 
ด่วนหรือนโยบายเฉพาะที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
๙. การมีหน่วยงาน/สถานศึกษารับผิดชอบตัวชวีั้ดความสาเร็จตามยุทธศาสต 
ร์และจุดเน้นที่ตรงตามภารกิจอย่างชัดเจนที่เชื่อมโยงการกากับติดตามแล 
ะรายงานผลตัวชี้วัดทั้งส่วนกลาง ระดับจังหวัด 
และระดับสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 
ภารกิจทตี่้องดา เนินก 
เดือน ตุลาคม – 
ธันวาคม 2557 
1. ค่านิยมหลัก 12 ประการ 
าร 
1.1 จัดค่ายค่านิยมหลัก 12 ประการ อาเภอละ 1 ค่าย 
1.2 สอดแทรกค่านิยมหลัก 12 ประการ 
ในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม 
2. การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในค่ายทหาร 
3. การสร้างนิสัยรักการอ่าน : ทาวิจัยเรื่องหนังสือถึงบ้านหนังสืออัจฉริยะ 
4. การใช้ Electronics ในการช่วยสอบ เริ่มวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557 
5. อาเซียนศึกษา 
5.1 ภาษาหลัก 
5.2 ภาษาท้องถิ่น 
5.3 อาชีพที่รองรับอาเซียน 
6. การศึกษาทางไกลจังหวัดละ 100 คน เป็นของสถาบันทางไกล 
สานักงาน กศน.จังหวัด จัดเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา
8 
7. จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ/แผน กศน.ตาบล 
8. จัดทาแผนจุลภาค (Micro Planning)

More Related Content

ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558

  • 1. ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึ 1 กษาตามอัธยาศัย โดยมีวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และพันธกิจ ที่ใช้เป็นหลักยึดและตัวกากับทิศทางยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานดังก ล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ไว้ดังต่อไปนี้ วิสัยทัศน์ คนไทยทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย เข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงเท่าเทียม เป็นพลเมืองดี มีศักยภาพ และมีความพร้อมในการแข่งขันในระดับสากล เป้าประสงค์ ประชาชนผู้รับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีความรู้ความสามารถรอบด้านเพียงพอต่อการดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีควา มสุขบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ มีศักยภาพในการผลิตทางเศรษฐกิจ การสร้างสังคมคุณภาพ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และมีความใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต พันธกิจ สานักงาน กศน. มีพันธกิจหลัก ดังนี้ ๑. จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีโอกาสเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
  • 2. 2 ๒. ส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษาน อกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อตอบสนองความต้องการทางการศึกษาของประชาชนอย่างหลากหลาย ๓. พัฒนาระบบการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ในการดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ และภารกิจ ทั้งระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติของหน่วยงาน สถานศึกษา รวมทั้งการส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ๑. ๓ ยุทธศาสตร์ที่หวังผลใน ๓ เดือน การเร่งปฏิรูปการดา เนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สามารถขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลทุกระดับในส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปสู้การปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพตามกรอบเงื่อนไขระยะเว ลาที่กาหนดไว้โดย ๑.๑ ) การทบทวนและปรบับทบาทหน้าทขี่องหน่วยงานและสถานศึกษาทุกประเภท ทุกระดับ ตลอดจนหน่วยจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้น ที่ ให้ทาหน้าที่ตามเจตนารมณ์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ “กศน. ตาบล” เป็นฐาน (สถานี) เติมเต็มความรู้โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
  • 3. 3 ๑.๒ ) การประเมิน ทบทวนและปรบักิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และสอดคล้องกับวิถีชีวิต และสภาพปัญหาความเร่งด่วนของแต่ละชุมชน ตลอดจนพัฒนาทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิต สามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง การพัฒนาชุมชนและสังคมได้อย่างแท้จริง โดยยึดหลักประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความคุ้มค่าในการดาเนินงาน ๑.๓ ) กากับและติดตามให้หน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับบริหารการจัดการศึกษ านอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยใช้นโยบายและแผน ตลอดจนระบบการกระจายอานาจเป็นกลไกการดาเนินงานที่สาคัญ โดยมีการสื่อสารสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้นโยบาย และแผนเป็นเครอื่งมือ ในการพัฒนาการดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีการนิเทศ กากับติดตาม ประเมิน และรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ ๑.๔ ) การกระตนุ้ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษ าตามอัธยาศัย ของทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง โดยยึดหลักความคล่องตัวในการทางาน การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ และความต่อเนื่องอย่างยั่งยืนของการเป็นภาคีเครือข่ายซึ่งกันและกัน ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ ๑.๕ ) การเร่งรัดสร้างความเข้าใจกรรมการ กศน. จังหวัด กรรมการสถานศึกษา และกรรมการ กศน. ตาบล ให้เข้าใจบทบาทหน้าที่และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 4. 4 ๑.๖ ) การเร่งรัดพัฒนาครู กศน. ตาบลทุกคน ให้สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. การเร่งรัดดา เนินการการนา คูปองการศึกษาหรือคูปองการเรียนรตู้ลอดชีวิตมา ใช้ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศั ย ของประชาชนผู้รับบริการ ให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นธรรมอย่างแท้จริง ๓. การเร่งรัดปรับปรุงหลักสูตรแกนกลาง และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรท้องถนิ่ ตลอดจนหลักสูตรที่สอดคล้องกับบริบทของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการเรียนการสอน ที่มุ่งให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรมนาความรู้ และปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ มีส่วนร่วมในการสร้างความสมานฉันท์ และมีความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กลไกการขับเคลื่อน “กศน.” ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
  • 5. 5 เลขาธิการ กศน. กลุ่มสนับสนุน กลุ่ม กลุ่ม/ศผูนชยช์ส.่ว นกล หน่วย าศงน . และ สถานตศึกสษน.า ขึ้นต รง รองเลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. ประธานกลมุ่/โซน 1. ขับเคลื่อนนโยบายสู่การ 2. นิเทศ/ติดตามงาน 3. ดูแลการบริหารงานบุคค 4. อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมา สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. กศนอาเภอ/เขต กศน.ตาบล : ฐานการเรียนรู้ของชุมชน บทบาทหน้าที่ ปฏิบัติ ลในกลุ่ม/โซน รองเลขาธิการ กศน. ปัจจัยหลักแห่งความ สาเร็จ ย ๑. การยึดหลักวิชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาคิดเป็น หลักธรรมาภิบาล และผลสัมฤทธใิ์นการบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปทั้งภายในองค์กร ระหว่างองค์กร และการทางานร่วมกันกับภาคีเครือข่าย
  • 6. 6 ๒. การใช้ยุทธศาสตร/์กลยุทธ์ในการดา เนินงานทั้งที่ยึดพื้นที่ ยึดสภาวะแวดล้อม ยึดกลุ่มเป้าหมาย ยึดประเด็นปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือประเด็นการพั ฒนายึดความสาเร็จ และยึดนโยบายเป็นฐาน ๓. การเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งเครือข่ายเชิงพื้นที่ เครือข่ายเชิงภารกิจและการสร้างความเข้มแข็งของความร่วมมือและควา มยั่งยืนในการเป็นภาคีเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๔. การใช้ กศน.ตา บล เป็นฐานและเป็นสถานีปลายทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับประช าชนในพื้นที่ โดยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพและความพร้อมในการปฏิบัติงานตลอ ดเวลา ๕. การใช้กลมุ่/โซนเป็นกลไกขับเคลอื่นการบริหารนโยบายในระดบัพนื้ที่ โดยมีประธานคณะกรรมการบริหารในระดับกลุ่ม/โซนทาหน้าที่ เสมือนผู้ช่วยเลขาธิการ กศน.โดยมีการกระจายอานาจ/มอบอานาจ เพื่อให้สามารถบริหารนโยบายในระดับพื้นที่ ได้อย่างคล่องแคล่วและมีประสิทธิภาพ ๖. การมีข้อมูลเกยี่วกบักลมุ่เป้าหมายทุกกลมุ่ตามจุดเน้นมาใช้ในการวางแผ นการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗.การมีระบบการนิเทศกา กับติดตามและรายงานผลการปฏิบัติงานและการใ ช้จ่ายงบประมาณที่สามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการดาเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ๘. การมีกลไก/ระบบทสี่ามารถเชอื่มโยงการทา งานกับส่วนราชการและหน่ว ยงานต่างๆที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการ เช่น
  • 7. 7 ระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องและการจัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบายเร่ง ด่วนหรือนโยบายเฉพาะที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๙. การมีหน่วยงาน/สถานศึกษารับผิดชอบตัวชวีั้ดความสาเร็จตามยุทธศาสต ร์และจุดเน้นที่ตรงตามภารกิจอย่างชัดเจนที่เชื่อมโยงการกากับติดตามแล ะรายงานผลตัวชี้วัดทั้งส่วนกลาง ระดับจังหวัด และระดับสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ภารกิจทตี่้องดา เนินก เดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2557 1. ค่านิยมหลัก 12 ประการ าร 1.1 จัดค่ายค่านิยมหลัก 12 ประการ อาเภอละ 1 ค่าย 1.2 สอดแทรกค่านิยมหลัก 12 ประการ ในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม 2. การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในค่ายทหาร 3. การสร้างนิสัยรักการอ่าน : ทาวิจัยเรื่องหนังสือถึงบ้านหนังสืออัจฉริยะ 4. การใช้ Electronics ในการช่วยสอบ เริ่มวันที่ 9 พฤศจิกายน 2557 5. อาเซียนศึกษา 5.1 ภาษาหลัก 5.2 ภาษาท้องถิ่น 5.3 อาชีพที่รองรับอาเซียน 6. การศึกษาทางไกลจังหวัดละ 100 คน เป็นของสถาบันทางไกล สานักงาน กศน.จังหวัด จัดเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา
  • 8. 8 7. จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ/แผน กศน.ตาบล 8. จัดทาแผนจุลภาค (Micro Planning)