ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ว่าที่ พ.ต.ต. อภิสิทธิ์ ตามสัตย์
อาจารย์ (สบ 2) กลุ่มงานอาจารย์ วพ.รพ.ตร.
17 ตุลาคม 2560
17/10/60 1
Gastrointestinal Tract Organs
• Oral Cavity (ช่องปาก)
• Pharynx (คอหอย)
• Esophagus (หลอดอาหาร)
• Stomach (กระเพาะอาหาร)
• Small Intestine (ลาไส้เล็ก)
• Large Intestine (ลาไส้ใหญ่)
• Rectum (ไส้ตรง)
• Anus (ทวารหนัก)
17/10/60 2
17/10/60 3
การแบ่งส่วนต่างของหน้าท้อง
17/10/60 4
Accessory digestive organs
• Teeth
• Tongue
• Salivary glands
• Liver
• Gall bladder
• Pancreas
17/10/60 5
หน้าที่ของระบบทางเดินอาหาร
มี 3 ประการ คือ
1. ช่วยให้เกิดการเคลื่อนไหวในทางเดินอาหาร
2. หลั่งสารที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหาร
3. ย่อยและการดูดซึมอาหาร
17/10/60 6
การควบคุมการทางานของระบบทางเดินอาหาร
1. สมองส่วนกลาง
2. ระบบประสาทอัตโนมัติ
3. การควบคุมภายในระบบทางเดินอาหาร
4. Hormone
17/10/60 7
การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
• ขณะมีอาหารจะมีการเคลื่อนไหวภายในทางเดินอาหาร ดังนี้
–แบบปล้อง (segmentation) เกิดบริเวณผนังลาไส้เล็ก เพื่อบดและ
คลุกเคล้าอาหาร
–แบบต่อเนื่อง (tonic contraction) เกิดบริเวณหูรูดทุกแห่ง ยกเว้น
หูรูดทวารหนักส่วนนอก เพื่อให้อาหารถูกแบ่งแยกและเคลื่อนที่ผ่าน
ไปได้
–การบีบไล่ (peristalsis contraction) เป็นการหดของกล้ามเนื้อ
เรียบแบบวงกลมบีบไล่อาหารตั้งแต่หลอดอาหารไปจนถึงลาไส้ใหญ่
บีบตัว 1 ครั้งใช้เวลาประมาณ 5 วินาที
17/10/60 8
การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
• การบีบตัวแบบแกว่งไกว (pendular contraction) เพื่อคลุกเคล้า
อาหารกับน้าย่อย
• การบีบตัวของถุงน้าดี โดยสิ่งที่กระตุ้นให้ถุงน้าดีหดตัว
• การบีบตัวขณะไม่มีอาหาร เรียกว่า การบีบตัวระหว่างมื้ออาหาร
(migrating motor complex: MMC) จะบีบไล่ตั้งแต่กระเพาะอาหาร
ส่วนปลาย ไปจนถึง ลาไส้เล็กส่วนปลาย
• การถ่ายอุจจาระ คือ การขับกากอาหารใน descending colon มาที่
rectum โดยการควบคุมของกล้ามเนื้อลายที่หูรูดทวารหนักด้านนอกซึ่ง
อยู่ภายใต้อานาจจิตใจ(สมองสั่งการ)
17/10/60 9
17/10/60 10
ไปดูโครงสร้างและหน้าที่
ของระบบทางเดินอาหาร
แต่ละส่วนกันเลยครับ
ช่องปาก (Mouth, Oral Cavity)
17/10/60 11
ช่องปาก แบ่งออกเป็น
1. Vestibule เป็นส่วนของช่องปากที่อยู่ระหว่างแก้มและริมฝีปาก
ทางด้านนอกกับเหงือกและฟันด้านใน ติดต่อกับภายนอกทาง
oral fissure โดยมีรูเปิดของท่อจากต่อมน้าลาย parotid ตรง
ข้ามกับฟันกรามบนซี่ที่ 2
2. Oral cavity proper เป็นส่วนของเหงือกและฟัน ด้านหลังเปิด
ติดต่อกับคอหอย บริเวณใต้ลิ้นจะมีสันนูนยึดใต้ลิ้นกับพื้นช่อง
ปาก เรียกว่า lingual frenulum และบริเวณโคนแต่ละข้างจะมี
sublingual papillae ซึ่งเป็นรูเปิดของ submandibular
17/10/60 12
Teeth (ฟัน)
• Deciduous Teeth (ฟันน้านม)
• Permanent Teeth (ฟันแท้)
• Incisors (ฟันตัด)
• Canines (ฟันเขี้ยว)
• Premolars (ฟันกราม)
• Molars (ฟันกรามหลัง)
17/10/60 13
ฟันของคนเรา
17/10/60 14
ฟันมี 2 ชุด
ชุดที่ 1 ฟันน้านม มี 20 ซี่
(ซี่แรกเริ่มตอน 6 เดือน)
ชุดที่ 2 ฟันแท้ มี 32 ซี่
(ซี่แรกเริ่มตอน 6-7 ปี)
Tongue (ลิ้น)
• ทาหน้าที่คลุกเคล้า รับรส ออกเสียง การกลืน
17/10/60 15
ตุ่มรับรส (Taste bud)
17/10/60 16
มีเซลล์รับรส (gustatory cell)
ทาให้เกิดกระแสประสาทผ่านทาง
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 (facial
nerve) แต่ที่บริเวณฐานลิ้นและฝาปิด
กล่องเสียง (epiglottis) จะรับกระแส
ประสาทผ่านเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9
(glossopharyngeal nerve) และคู่ที่
10 (vagus nerve)
17/10/60 17
ผลิตน้ำลำยมำกที่สุด
Salivary Glands
Saliva (น้าลาย)
มีคุณลักษณะ
•Amylase ช่วยในการย่อยแป้ง
•Mucin เป็นเมือก
•pH 6.0-7.0
•Anti-bacterial chemicals
17/10/60 18
การย่อยอาหารของปาก
ประกอบด้วย 2 กลไก
• Mechanical Digestion
คือ ใช้ฟันบดอาหาร ลิ้นคลุกเคล้าอาหาร
• Chemical Digestion
คือ ย่อยอาหารด้วย enzyme
17/10/60 19
คอหอย (PHARYNX)
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. Nasopharynx เป็นส่วนบนสุดของคอหอยจนถึงระดับเพดาน
อ่อน และมีรูเปิดของ Eustachian tube
2. Oropharynx เป็นบริเวณตั้งแต่เพดานอ่อนด้านบนลงไปจนถึง
ระดับของกระดูก hyoid เป็นทางผ่านของอากาศและอาหาร
และมีเนื้อเยื่อน้าเหลือง คือ palatine tonsils และ lingual
tonsils
3. Laryngopharynx เป็นส่วนล่างสุดตั้งแต่ hyoid ลงไปจนถึง
กระดูก cricoid
17/10/60 20
17/10/60 21
17/10/60 22
17/10/60 23
17/10/60 24
หลอดอาหาร (Esophagus)
17/10/60 25
17/10/60 26
17/10/60 27
ผนังท่อทางเดินอาหาร
ผนังท่อทางเดินอาหาร
1. Mucosa เป็นชั้นเยื่อบุภายในท่อทางเดินอาหาร ประกอบด้วย
epithelium (สัมผัสกับอาหารโดยตรง), lamina propria
(ประกอบด้วย loose areolar connective tissue หลอดเลือด
และหลอดน้าเหลือง) และ muscularis mucosa (ประกอบด้วย
กล้ามเนื้อเรียบ 2 ชั้น เพิ่มพื้นที่การสัมผัส ย่อย และดูดซึม)
2. Submucosa ประกอบด้วย dense connective tissue ช่วยยึด
ชั้น mucosa ไว้กับชั้นกล้ามเนื้อ และมี Plexus of Meissner
ช่วยควบคุมการหลั่งสารในท่อทางเดินอาหาร
17/10/60 28
ผนังท่อทางเดินอาหาร
3. Muscularis ช่วยในการบีบตัวของท่อทางเดินอาหาร
ในปาก คอหอย และหลอดอาหารส่วนต้น ทาให้เกิด
การกลืนภายใต้อานาจจิตใจ
4. Serosa เป็นชั้นที่เกิดจาก peritoneum
ประกอบด้วย simple squamous (mesothelium)
และมีผนังชั้นนอกสุดที่ไม่มีเยื่อบุช่องท้อง เรียกว่า
Adventitia
17/10/60 29
17/10/60 30
กระเพาะอาหาร (Stomach)
17/10/60 31
กระเพาะอาหารแบ่งออกเป็น 4 ส่วน
1. Cardia อยู่รอบรูเปิดหลอดอาหาร
2. Fundus เป็นส่วนกระพุ้งกลม
3. Body เป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุด
4. Pylorus เป็นส่วนที่แคบที่สุด
ติดกับลาไส้เล็กส่วน duodenum
17/10/60 32
17/10/60 33
17/10/60 34
17/10/60 35
หูรูดกระเพาะอาหาร
1. Cardiac Sphincter (หูรูดกระเพาะอาหาร
กับหลอดอาหาร)
2. Pyloric Sphincter (หูรูดกระเพาะอาหาร
กับลาไส้เล็ก)
17/10/60 36
ผนังกระเพาะอาหารประกอบด้วย
1. Mucosa เป็น simple columnar epithelium มี gastric gland 4
ชนิด คือ Chief cells (Zymogenic or peptic cells), Parietal cells
(oxyntic cells), Mucous neck cells, and Enteroendocrine cells
2. Submucosa เป็นเนื้อยึดต่อเรียงกันหลวมๆ
3. Muscularis เป็นชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะอาหาร มี 3 ชั้น
longitudinal, circular, และ oblique ส่วนบริเวณ pylorus จะมี
pyloric sphincter
4. Serosa เป็นเนื้อยึดต่อที่คลุมด้วย mesothelium
17/10/60 37
17/10/60 38
กระเพาะอาหาร
17/10/60 39
Chief Cell
• ทาหน้าที่สร้าง pepsinogen เมื่อสัมผัสกับกรดใน
กระเพาะอาหารจะเปลี่ยนเป็น pepsin
17/10/60 40
Parietal Cell
• ทาหน้าที่สร้าง hydrochloric acid (HCl) เพื่อช่วยในการย่อย
อาหาร และ Intrinsic Factor (IF) ควบคุมการดูดซึมวิตามินบี 12
17/10/60 41
Mucous neck cells
• ทาหน้าที่สร้างน้าเมือกที่มีฤทธิ์เป็นเบส ฉาบผิวของกระเพาะอาหาร
เพื่อไม่ให้เนื้อต่อมถูกทาลายโดยน้าย่อยหรือกรด
17/10/60 42
Enteroendocrine cells
• ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อ สร้างฮอร์โมน gastrin ควบคุมการหลั่ง
กรด และน้าย่อยของกระเพาะอาหาร การหดตัวของหลอดอาหาร
ส่วนล่าง และการคลายตัวของ pyloric sphincter
17/10/60 43
Gastrin Action
• เพิ่มการผลิต HCl ใน stomach
• เพิ่ม gastric motility
• กระตุ้น growth of gastric mucosa
• ควบคุมการทางานของ lower esophageal sphincter
• ทาให้ pyloric sphincter คลายตัว
• ทาให้ ileocecal sphincter คลายตัว
17/10/60 44
SMALL INTESTINE
17/10/60 45
• ลาไส้เล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว
ยาวประมาณ 21 ฟุต
• ยึดลาไส้กับผนังด้านหลังของช่องท้องด้วย
“เยื่อแขวนลาไส้ (mesentery)”
17/10/60 46
ลาไส้เล็ก (SMALL INTESTINE)
ลาไส้เล็ก (SMALL INTESTINE)
โครงสร้างภายนอกแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
• Duodenum เป็นบริเวณที่มีสารเคมีหลายชนิด เช่น
- Pancreatic Juice จากตับอ่อน
- Bile (น้าดี) จากตับ และถุงน้าดี
- Intestinal Juice จากผนังดูโอดีนัม
• Jejunum เป็นส่วนที่มีการดูดซึมอาหารมากที่สุด
• Ileum อยู่ปลายสุดต่อกับลาไส้ใหญ่มีขนาดเล็กและยาวที่สุด
17/10/60 47
ผนังของลาไส้เล็ก มี 4 ชั้น
1. Mucosa มี villi และ รูเปิดของ ontestinal glands ซึ่งเป็น
simple tubular glands ฝังในชั้น lamina propria ทาหน้าที่สร้าง
น้าย่อย โดยมีต่อมที่ช่วยผลิตดังนี้
Absorptive cells ทาหน้าที่ดูดซึมและสร้างน้าย่อย lactase,
sucrose, peptidase, etc.
Goblet cells ทาหน้าที่สร้างเมือกบริเวณ villi
Enteroendocrine cells ทาหน้าที่สร้าง hormone
Paneth cells ทาหน้าที่สร้าง lysozyme ทาลายแบคทีเรีย
บางชนิดที่ปนมากับอาหาร
17/10/60 48
2. Submucosa เป็นเนื้อยึดต่อที่มีหลอดเลือดและหลอดน้าเหลือง
จานวนมาก และที่ duodenum จะมีต่อมเมือกที่ชื่อ duodenal
glands (Brunner’s glands) ทาหน้าที่สร้างเมือกที่มีฤทธิ์เป็นด่าง
เพื่อป้องกันน้าย่อยและกรดจากกระเพาะอาหาร
3. Muscularis มีกล้ามเนื้อ 2 ชั้น ชั้นในเรียงเป็นวงกลม และชั้นนอก
เรียงตามยาว
4. Serosa เป็นชั้นนอกสุดที่ติดกับเยื่อแขวนลาไส้และเยื่อบุช่องท้อง
17/10/60 49
ผนังของลาไส้เล็ก มี 4 ชั้น
17/10/60 50
Ampullar of Vater
17/10/60 51
17/10/60 52
พบมากที่สุด
17/10/60 53
17/10/60 54
ลาไส้ใหญ่ (Large intestine)
17/10/60 55
• มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร (5 ฟุต) และมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางในท่อประมาณ 2.5 นิ้ว
• เริ่มจากส่วนปลายของลาไส้เล็กส่วน ileum ไปจนถึง
ทวารหนัก (anus)
• ยึดติดกับผนังช่องท้องทางด้านหลังด้วย mesocolon
• แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักคือ Cecum, Colon, และ
Rectum
17/10/60 56
ลาไส้ใหญ่ (Large intestine)
17/10/60 57
ลาไส้ใหญ่ (Large intestine)
ทาหน้าที่
• ดูดน้า
• ดูดเกลือ น้าดี และแร่ธาตุกลับเข้าสู่ร่างกาย
• ดูดซึมสารอาหารที่หลงเหลือจากลาไส้เล็ก
• เป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์และแบคทีเรียที่ช่วยสังเคราะห์
vitamin B12, vitamin K, folate, biotin, etc.
17/10/60 58
การหลั่งสารในลาไส้
• มี enterokinase ย่อย trypsinogen จากตับอ่อนให้กลายเป็น
trypsin เพื่อย่อยโปรตีน
17/10/60 59
ไส้ติ่ง (Appendix)
17/10/60 60
Appendix
17/10/60 61
17/10/60 62
ไส้ตรง (Rectum)
17/10/60 63
Hemorrhoid
17/10/60 64
• เป็นส่วนปลายสุดที่มีความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร (8 นิ้ว)
• วางตัวอยู่ทางด้านหน้าต่อกระดูกกระเบนเหน็บและกระดูกก้นกบ
• ส่วนปลายสุดของ rectum ที่มีความยาวประมาณ 1 นิ้ว จะตีบแคบลง เรียกว่า
Anal canal
• รูเปิดของ Anal canal ที่ออกสู่ภายนอกเรียกว่า รูทวารหนัก (Anus)
• มีกล้ามเนื้อควบคุมการขับถ่าย โดยชั้นในเป็นกล้ามเนื้อเรียบ ชื่อ internal
anal sphincter ควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ (S2-S5) และชั้นนอกเป็น
กล้ามเนื้อลายเรียกว่า external anal sphincter อยู่ภายใต้อานาจจิตใจ
17/10/60 65
ไส้ตรง (Rectum)
17/10/60 66
ตับ (LIVER)
17/10/60 67
• เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย
• มีน้าหนักประมาณ 1.5 กิโลกรัม อยู่บริเวณช่องท้อง
ด้านขวาใต้กะบังลม ลักษณะคล้ายลิ่ม มีสีน้าตาลแดง
• มี hepatic artery นาเลือดที่มีออกซิเจนสูงเข้าสู่ตับ
• มี hepatic portal vein นาเลือดที่มีสารอาหารที่ถูกดูด
ซึมจากลาไส้เข้าสู่ตับ
• มี bile duct เป็นท่อนาน้าดีที่ตับสร้างออกสู่ภายนอก
17/10/60 68
ตับ (LIVER)
17/10/60 69
ภายในตับ
• มี sinusoid มี Kupffer cells ที่ทาหน้าที่เก็บกิน RBC ที่หมดอายุ
และแบคทีเรียที่ปนมากับเลือด
• เซลล์ตับ สร้าง Bile (น้าดี) ผ่านทางท่อน้าดีเล็กๆ (bile canaliculi)
ที่แทรกอยู่ระหว่างเซลล์ตับ ท่อเหล่านี้จะรวมเป็น hepatic duct
และรวมเป็น common hepatic duct ที่นาน้าดีออกจากตับ
• Bile Salt คือ เกลือน้าดีที่มีองค์ประกอบของ Cholesterol
• Bilirubin เป็นรงควัตถุจากการแตกตัวของ RBC ทาให้อุจจาระมีสี
เขียวปนเหลือง
17/10/60 70
กลไกการไหลเวียนในตับ
17/10/60 71
17/10/60 72
17/10/60 73
17/10/60 74
17/10/60 75
17/10/60 76
17/10/60 77
17/10/60 78
17/10/60 79
17/10/60 80
17/10/60 81
ถุงน้าดี (Gall Bladder)
17/10/60 82
• มีรูปร่างเหมือนลูกแพร์
• มีความยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร
• ระบบทางเดินน้าดี ประกอบด้วย common hepatic duct เป็น
ท่อนาน้าดีออกจากตับ และ cystic duct ซึ่งเป็นทางผ่านของน้าดี
เข้าและออกจากถุงน้าดี
• ทาหน้าที่เก็บสะสมน้าดีไว้ชั่วคราว เพื่อปล่อยลงสู่ลาไส้เล็ก เมื่อมี
การย่อยอาหารโดยผ่านทาง common bile duct
17/10/60 83
ถุงน้าดี (Gall Bladder)
17/10/60 84
• อัตราการสร้างน้าดี ประมาณ 15-22 มิลลิลิตร/ชั่วโมง
17/10/60 85
ตับอ่อน (PANCREAS)
ตับอ่อน (PANCREAS)
• ตับอ่อนเป็นทั้งต่อมมีท่อผลิตน้าย่อยและต่อมไร้ท่อที่สร้างฮอร์โมน
• บริเวณต่อมมีท่อ เรียกว่า pancreatic acini ที่มี enzyme ต่างๆ ดังนี้
– Amylase ย่อย carbohydrate
– Pepsinogen ย่อย protein
– Chymotrypsinogen ย่อย protein
– Procarboxypeptidase ย่อย protein
– Lipase ย่อย Lipid
– Ribonuclease ย่อย RNA
– Deoxyribonuclease ย่อย DNA
17/10/60 86
ตับอ่อน (PANCREAS)
• ส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อ เรียก Islet of langerhans สร้าง
hormone insulin และ glucagon เป็นต้น
• Insulin นากลูโคสและกรดอะมิโนเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ
และเซลล์ไขมัน
• Glucagon กระตุ้นการเปลี่ยน glycogen ที่สะสมใน
เซลล์ไขมันและกล้ามเนื้อกลับเป็นกลูโคส
17/10/60 87
17/10/60 88
17/10/60 89
สรุป Hormone ที่สาคัญในทางเดินอาหาร
ฮอร์โมน แหล่งสร้าง อวัยวะ
เป้าหมาย
ผล กระตุ้นโดย
gastrin G cell ในเยื่อ
บุกระเพาะ
อาหาร
กระเพาะ
อาหาร
-กระตุ้น
parietal cell
สร้างและหลั่ง
กรดเกลือและ
intrinsic
factors
-กระตุ้น chief
cell หลั่ง
pepsinogen
-การยืดขยาย
ของกระเพาะ
อาหาร
โปรตีนที่ย่อย
แล้ว
คาเฟอีน
17/10/60 90
ฮอร์โมน แหล่งสร้าง อวัยวะ
เป้าหมาย
ผล กระตุ้นโดย
secretin S cell ในเยื่อ
บุลาไส้ส่วนต้น
ตับอ่อน
ถุงน้าดี
-กระตุ้นการ
สร้างและหลั่ง
สารที่เป็นด่าง
-กระตุ้นการ
สร้างน้าดีจาก
ตับ
-อาหารที่เป็น
กรดที่ลาไส้เล็ก
ส่วนต้น
17/10/60 91
สรุป Hormone ที่สาคัญในทางเดินอาหาร
ฮอร์โมน แหล่งสร้าง อวัยวะ
เป้าหมาย
ผล กระตุ้นโดย
Cholecystoki
nin, CCK
I cell ในเยื่อบุ
ลาไส้เล็กส่วน
ต้น
ตับอ่อน
ถุงน้าดี
-กระตุ้นการ
สร้างน้าย่อย
-กระตุ้นการ
หลั่งน้าดี
-กรดไขมัน
อิสระและ
โปรตีนที่ย่อย
แล้ว
Gastric
inhibitor
peptide, GIP
เยื่อบุลาไส้เล็ก
ส่วนต้น
กระเพาะ
อาหาร
-ลดการบีบตัว
-ทาให้อาหาร
อยู่ในกระเพาะ
อาหารนานขึ้น
-ไขมันและ
คาร์โบไฮเดรต
ในลาไส้เล็ก
ส่วนต้น
17/10/60 92
สรุป Hormone ที่สาคัญในทางเดินอาหาร
Thank You
For
Your
Attention
17/10/60 93

More Related Content

โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560