ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินปัสสาวะ
ว่าที่ พ.ต.ต. อภิสิทธิ์ ตามสัตย์
อาจารย์ (สบ 2) กลุ่มงานอาจารย์ วพ.รพ.ตร.
18 ตุลาคม 256017/10/60 1
วัตถุประสงค์ในการเรียน
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารอธิบายโครงสร้างของระบบ
ทางเดินปัสสาวะได้
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารอธิบายหน้าที่และสรีรวิทยาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะได้
17/10/60 2
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
URINARY SYSTEM
ประกอบด้วย
•ไต (KIDNEY)
•หลอดไต (URETER)
•กระเพาะปัสสาวะ (URINARY BLADDER)
•หลอดปัสสาวะ (URETHRA)
17/10/60 3
17/10/60 4
ไต (KIDNEY)
• มี 2 ข้าง ซ้าย และ ขวา
• มีลักษณะเหมือน “เมล็ดถั่ว”
(BEAN – SHAPED)
• โดยปกติแล้วไตข้างขวาจะอยู่
ต่่ากว่าไตข้างซ้าย
• ไตปกติ มีขนาดกว้าง 6 CM.
ยาว 11 CM. และหนา 3 CM.
17/10/60 5
ไตผู้ใหญ่หนักข้างละ 120-170 กรัม
ท่าหน้าที่ของไต
1. กรองของเสียจากกระบวนการ METABOLISM ในร่างกาย
2. ก่าจัดน่าส่วนเกินออกจากร่างกาย
3. เป็นต่อมไร้ท่อ
• ผลิตฮอร์โมน ERYTHROPOIETIN เพื่อกระตุ้นการสร้าง เม็ด
เลือดแดง
• ผลิตฮอร์โมน RENIN เพื่อควบคุมความดันโลหิต
• ผลิต 1,25 HYDROXYCHOLECALCIFERAL หรือ
VITAMIN D ซึ่งมีผลในการควบคุม CALCIUM
ในเลือดและอวัยวะต่างๆ17/10/60 6
ลักษณะภายในไต
17/10/60 7
NEPHRONS PERFORM THE MAIN FUNCTION OF THE KIDNEY
THE NEPHRON IS THE FUNCTIONAL UNIT OF THE KIDNEY.THE GLOMERULUS AND CONVOLUTED TUBULES OF THE NEPHRON ARE LOCATED IN THE CORTEX OF
THE KIDNEY, WHILE COLLECTING DUCTS ARE LOCATED IN THE PYRAMIDS OF THE KIDNEY'S MEDULLA.
Free to share, print, make copies and changes. Get yours at www.boundless.com
Connexions. CC BY 3.0 http://cnx.org/content/m44809/latest/Figure_41_03_03.png View on Boundless.com
Osmotic Regulation and Excretion
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
Erythropoietin
1,25 hydroxycholecalciferol
การสร้างน่าปัสสาวะของไต
NEPHRON เป็นตัวสร้างน่าปัสสาวะ โดยอาศัยกระบวนการ
ในการสร้าง 3 กระบวนการ คือ
1. GLOMERULAR FILTRATION
2. TUBULAR REABSORPTION
3. TUBULAR SECRETION
17/10/60 21
กระบวนการสร้างน่าปัสสาวะ
17/10/60 22
17/10/60 23
17/10/60 24
17/10/60 25
ระบบประสาทที่มาเลียงไต
เป็นระบบประสาทอัตโนมัติ
•PARASYMPATHETIC NERVE FIBERS มี NERVE FIBERS
ของ VAGUS NERVE มาเลียง ซึ่งท่าหน้าที่ไม่ชัดเจน
•SYMPATHETIC NERVE FIBERS แตกแขนงมาจากประสาท
ไขสันหลังต่าแหน่งที่ T12 ถึง L2
• ADRENERGIC NERVE FIBER
• CHOLINERGIC NERVE FIBER
17/10/60 26
หลอดไต / ท่อไต (URETER)
17/10/60 27
ระบบหลอดไต / ท่อไต
•MINOR CALYCES
•MAJOR CALYCES
•RENAL PELVIS
17/10/60 28
หลอดไต / ท่อไต (URETER)
17/10/60 29
หลอดไต / ท่อไต (URETER)
•เป็นท่อติดต่อระหว่าง RENAL PELVIS ของไตกับ
กระเพาะปัสสาวะ เริ่มตังแต่ส่วนของ HILUM จนถึง
TRIGONE ที่ POSTEROLATERAL WALL ของกระเพาะ
ปัสสาวะ
•ท่อไตปกติจะยาว 28-32 CM.
•เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 MM.
17/10/60 30
กระเพาะปัสสาวะ (URINARY BLADDER)
17/10/60 31
กระเพาะปัสสาวะ (URINARY BLADDER)
•เป็นอวัยวะอยู่ในช่องเชิงกราน
•ในผู้ชาย กระเพาะปัสสาวะจะอยู่ด้านหน้าต่อ
ล่าไส้ใหญ่ส่วนกลาง
•ในผู้หญิง กระเพาะปัสสาวะอยู่เหนือมดลูก
ข้างหน้าช่องคลอด
17/10/60 32
MALE
FEMALE
17/10/60 33
กระเพาะปัสสาวะ (URINARY BLADDER)
กระเพาะปัสสาวะมีรูปร่างแบบ 4 มุม (จัตุรมุข:
TETRAHEDRON) หรือกรวยสามเหลี่ยม คือ มี BASE, NECK, APEX,
SUPERIOR SURFACE, และ INFEROLATERAL SURFACE และยึด
ติดกัน ดังนี
• APEX (ANTERIOR ANGLE) ยึดติดกับ MIDDLE (MEDIAN)
UMBILICAL LIGAMENT
• POSTEROLATERAL ANGLES ยึดติดกับ หลอดไต
• NECK (INFERIOR ANGLE) ติดต่อลงไปยังหลอดปัสสาวะ
17/10/60 34
ลักษณะโครงสร้างของกระเพาะปัสสาวะ
17/10/60 35
ลักษณะโครงสร้างของกระเพาะปัสสาวะ
•กระเพาะปัสสาวะบรรจุน่าได้ 280 ML.
•สามารถกลันได้จนถึง 500 ML.
•ถ้าเกิน 500 ML. จะเกิดความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะมาก
และปวดที่หน้าท้องส่วนล่าง
•เมื่อกระเพาะปัสสาวะเต็มจะเปลี่ยนรูปร่างเป็นรูปไข่
สามารถขยายได้จนถึงระดับสะดือหรือสูงกว่า
17/10/60 36
เส้นประสาทที่มาเลียงกระเพาะปัสสาวะ
ระบบประสาท กล้ามเนือเรียบ
Detrusor
หูรูดชันใน หูรูดชันนอก
Parasympathetic (S3-4) หดตัว คลายตัว -
Sympathetic (L1-4) คลายตัว หดตัว -
Somatic (S1-4) - - หดตัว
17/10/60 37
ตารางแสดงผลการกระตุ้นของเส้นประสาทที่มาเลียงกระเพาะปัสสาวะ
หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะ
•เป็นที่พักหรือเก็บน่าปัสสาวะ
•หดตัวเพื่อขับถ่ายปัสสาวะ
•กระเพาะปัสสาวะจะเกิด RECEPTIVE RELAXATION
เมื่อน่าปัสสาวะเพิ่มขึน 100 – 400 ML.
17/10/60 38
17/10/60 39
หลอดปัสสาวะ (URETHRA)
17/10/60 40
หลอดปัสสาวะ (URETHRA)
•เพศชาย
• ท่อปัสสาวะยาวประมาณ 18-20 CM.
• เป็นท่อน่าทางให้ SEMINAL FLUID ที่เกิดจาก EJACULATION
•เพศหญิง
• ท่อปัสสาวะยาวประมาณ 3-5 CM.
• มีรูเปิดของท่อปัสสาวะอยู่เหนือช่องคลอด (VAGINA)
และต่่ากว่า CLITORIS
17/10/60 41
หลอดปัสสาวะของเพศชาย (MALE URETHRA)
•ประกอบด้วยผนัง 2 ชัน ชันในเป็นเยื่อเมือก ชันนอกเป็น
ชัน SUBMUCOSA
•ชันเยื่อเมือกแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
•PROSTATIC PORTION
•MEMBRANOUS PORTION
•SPONGY PORTION
17/10/60 42
หลอดปัสสาวะของเพศหญิง (FEMALE URETHRA)
17/10/60 43
17/10/60 44
ส่วนประกอบของ
น่าปัสสาวะ
17/10/60 45
17/10/60 46
น่าปัสสาวะ
• มีสีเหลือง “อ่าพัน”
• ความถ่วงจ่าเพาะปกติ คือ 1.010 – 1.030
• มีภาวะเป็นกรดอ่อนๆ
• ผู้ใหญ่ปกติมีปัสสาวะ 800 – 1,600 ML/DAY
• สูตรค่านวณปริมาณปัสสาวะใน 1 ชั่วโมง คือ
• ใน 1 ชั่วโมง ควรมีปัสสาวะไม่น้อยกว่า 25-30 ML
17/10/60 47
0.5 ml/kg/hr
ความผิดปกติของ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
17/10/60 48
POLYURIA
•ภาวะที่มีปัสสาวะปริมาณมากกว่าปกติ ( > 2,500 ML/DAY )
สาเหตุ
• การได้รับน่ามากเกินไป
• โรคเบาหวาน (DIABETES MELLITUS)
• โรคเบาจืด (DIABETES INSIPIDUS)
• ได้รับยาขับปัสสาวะ (DIURETICS)
• ได้รับเครื่องดื่มพวกชา กาแฟ และแอลกอฮอล์
17/10/60 49
DYSURIA
• ภาวะที่ปัสสาวะล่าบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
(FREQUENCY) และอยากถ่ายปัสสาวะทันทีทันใด (URGENCY)
• อาการปวดมักสัมพันธ์กับการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ
• สาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
• การอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ
• การอักเสบของท่อปัสสาวะ
• ท่อปัสสาวะได้รับอันตราย อาจเกิดขึนชั่วคราวภายหลังร่วมเพศ
17/10/60 50
OLIGURIA
• ภาวะที่ปัสสาวะน้อยกว่าวันละ 400 ML หรือ 30 ML/HR
สาเหตุ
•การท่างานของไตไม่ดี
•ภาวะขาดน่า หรือ ได้รับน่าน้อย
17/10/60 51
ANURIA
•ภาวะที่ปัสสาวะออกน้อย ไม่มีปัสสาวะ หรือ จ่านวนปัสสาวะ
น้อยกว่า 100 ML/DAY ผู้ป่วยไม่รู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะ
สาเหตุ
• RENAL DYSFUNCTION
• SHOCK
• DEHYDRATION
17/10/60 52
NOCTURIA
•ภาวะที่มีปัสสาวะมากในเวลากลางคืน โดยอาจมากกว่า 2-3 ครัง
สาเหตุ
• เครื่องดื่มกาแฟ แอลกอฮอล์ก่อนเข้านอน
• โรคไต
• โรคหัวใจและหลอดเลือด
• ได้รับยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว (CONGESTIVE HEART FAILURE)
• ผู้สูงอายุชายที่มีต่อมลูกหมากโต (BENIGN PROSTATIC HYPERPLASIA: BPH)
17/10/60 53
PYURIA
• ภาวะปัสสาวะขุ่นเป็นหนอง
17/10/60 54
UREMIA
• อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร ได้แก่
UREA/CREATININE ตกค้างอยู่ในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
UREA อาการเป็นพิษดังกล่าวมักเป็นผลสืบเนื่องมาจากการ
ป่วยเป็นโรคไตในขันร้ายแรง ท่าให้ร่างกายไม่สามารถขับ
UREA ออกได้
• นอกจากนียังส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
กระสับกระส่าย กล้ามเนือกระตุก และอาจชักหมดสติได้
17/10/60 55
17/10/60 56
PROTEINURIA
• ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
• ตรวจพบ โปรตีนในปัสสาวะตรวจพบ 1 + ขึนไป
• TRANSIENT PROTEINURIA หมายถึง การพบโปรตีนในปัสสาวะ
ชั่วคราว ในขณะที่ผู้ป่วยมีภาวะอื่นๆ อยู่ เช่น ไข้, หลังออกก่าลังกาย,
หลังการชัก, หรือเกิดตามหลังภาวะหัวใจล้มเหลว ฯลฯ ซึ่งภาวะนีไม่มี
ความผิดปกติในไต
• PERSISTENT PROTEINURIA หมายถึง การพบโปรตีนในปัสสาวะ
ทุกครังที่มีการตรวจปัสสาวะ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีภาวะดังกล่าวข้างต้น
17/10/60 57
RETENTION OF URINE
• ภาวะที่ปัสสาวะไม่ออก
• การที่มีปัสสาวะคั่งอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ ท่าให้กระเพาะปัสสาวะไม่ว่าง หรือ
ภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะภายใน 8 - 10 ชั่วโมง นับจากการถ่ายปัสสาวะครัง
สุดท้าย
สาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
• การบวมบริเวณท่อปัสสาวะ
• ต่อมลูกหมากโต
• กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
• ระบบประสาทเสียหน้าที่
17/10/60 58
ACUTE GLOMERULONEPHRITIS (AGN)
•มีเม็ดเลือดแดง (RBC CAST) และโปรตีนในปัสสาวะ
มากผิดปกติ (HEMATURIA & PROTEINURIA)
•มีของเสียไนโตรเจนคั่งในเลือด (AZOTEMIA)
•การคลั่งของเกลือและน่าในร่างกาย (EDEMA)
•อัตราการกรองของไตลดลง
17/10/60 59
NEPHROTIC SYNDROME (NS)
• อาจเกิดจาก IMMUNE COMPLEX DEPOSITION หรือ IN SITU
IMMUNE COMPLEX ที่ท่าให้มีการเพิ่มการกรองโปรตีนจากกรวย
กรองไต เนื่องจากเกิดความผิดปกติของ GLOMERULAR
BASEMENT MEMBRANE และ PODOCYTE
• ลักษณะส่าคัญคือ MASSIVE PROTEINURIA
(>3.5 G/D/1.73 M2) ร่วมกับบวม
• ALBUMIN ในเลือดลดลง
• CHOLESTEROL สูง
17/10/60 60
PYELONEPHRITIS
•เกิดจากการติดเชือแบคทีเรียแกรมลบเข้ากระแสเลือด (GRAM-
NEGATIVE SEPSIS) จนถึงกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
•อาการแสดงทั่วไป ประกอบด้วย ไข้สูง หนาวสั่นทันที และปวด
เอวข้างเดียวหรือสองข้าง เรียกว่า อาการของระบบปัสสาวะ
ส่วนบน (COSTOVERTEBRAL ANGLE)
•พบร่วมกับ ปวดแสบเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย และ
ต้องรีบปัสสาวะ
17/10/60 61
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
17/10/60 62
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
•เป็นก้อนหินแข็งเม็ดเดียว หรือหลายเม็ด อยู่ใน
กรวยไต หรือ CALYCES
•นิ่วเขากวาง หรือ STAGHORN STONE กิ่งก้าน
ยื่นเข้าไปใน CALYCES มากกว่า 1 CALYX
•NEPHROCALCINOSIS เป็นหินปูนที่อยู่ในเนือไต
แต่ไม่ได้อยู่ในกรวยไตหรือ CALYCES
17/10/60 63
RENAL CALCULI
• ร้อยละ 75 เป็นเกลือแคลเซียม เช่น CALCIUM OXALATE, CALCIUM
PHOSPHATE หรือส่วนผสมระหว่าง OXALATE และ PHOSPHATE
• ร้อยละ 14 เป็นเกลือ MAGNESIUM AMMONIUM PHOSPHATE ซึ่ง
เรียกว่า STRUVITE
• ร้อยละ 10 เป็น URIC ACID-BASED
• และอีกร้อยละ 1 เป็น CYSTINE-BASED ซึ่งการเกิดผลึกมักพบเมื่อใน
ร่างกายมีสาร CALCIUM, CYSTINE, URIC ACID, STRUVITE หรือ
OXALATE อยู่ในภาวะอิ่มตัวยิ่งยวด
17/10/60 64
อาการของนิ่ว
ในทางเดินปัสสาวะส่วนบน
นิ่วในไต
•มีอาการปวดตือๆ หรือปวดรุนแรง
บริเวณบันเอว
•อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด
17/10/60 65
นิ่วในท่อไต
•มีอาการปวดบริเวณสีข้างและหลัง ท้องน้อย
หน้าขา ถุงอัณฑะ หรือแคมอวัยวะเพศหญิง
•ปัสสาวะเป็นเลือด
•คลื่นไส้ อาเจียน
17/10/60 66
อาการของนิ่ว
ในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
•นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
• มีอาการปวดปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย สะดุด เป็นเลือด
อาจปวดบริเวณหัวเหน่าร่วมด้วย
•นิ่วในท่อปัสสาวะ
• ถ่ายปัสสาวะไม่ออก หรือเป็นหยด
• ปวดขณะปัสสาวะ
17/10/60 67
ปัสสาวะเป็นเลือด (HEMATURIA)
•พบเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ อาจเป็นเลือดสด
(GROSS HEMATURIA)
•RBC > 3 CELLS/HPF คือ มีเม็ดเลือดแดงมากกว่า 3 ตัว
ต่อหนึ่งช่องการดูจากกล้องจุลทรรศน์ก่าลังขยาย 40 เท่า
สาเหตุเนื่องจากมีการบาดเจ็บที่ไต ท่อไตและกรวยไต
กระเพาะปัสสาวะ ต่อมลูกหมาก และท่อปัสสาวะ
17/10/60 68
UTI (URINARY TRACT INFECTION)
•คือ การตอบสนองของการอักเสบของเยื่อบุผิวระบบทางเดิน
ปัสสาวะต่อการบุกเข้าของแบคทีเรีย เนื่องจากเยื่อบุผิวระบบ
ปัสสาวะทังหมดเชื่อมต่อกันทังหมด ท่าให้ทังระบบของ
ทางเดินปัสสาวะมีความเสี่ยงที่จะติดเชือทังหมดและมีอาการ
ของการติดเชือระบบปัสสาวะได้หลายแบบ
•สัมพันธ์กับการมีแบคทีเรียในปัสสาวะ (BACTERIURIA) และ
ปัสสาวะเป็นหนอง (PYURIA)
17/10/60 69
UTI (URINARY TRACT INFECTION)
เชือแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทาง คือ
1. ย้อนกลับขึนไปจากท่อปัสสาวะ (ASCENDING INFECTION)
2. กระจายตัวมาทางกระแสเลือด (HEMATOGENOUS ROUTE)
3. กระจายมาทางกระแสน่าเหลือง (LYMPHATIC ROUTE)
17/10/60 70
17/10/60 71

More Related Content

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560