ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ 4 เรื่อง Method
จัดทาโดย
นายณัชนน หมอกลาง
เลขที่ 2
นายพงศธร อยู่คง
เลขที่ 3
น.ส.ปรียาภรณ์ แสงทวี
เลขที่ 14
น.ส.ทิพย์อักษร โตแก้ว
เลขที่ 18
น.ส.ประภัสสร บุญเงิน
เลขที่ 21
น.ส.จุฑารัตน์ ลิ้มทอง
เลขที่ 34
กลุ่มที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ เอี่ยมโพธิ์
Method คืออะไร
เมธอด (Method) คือ ความสามารถในการทางานของออบเจ็กต์ มันถูกสร้างขึ้นมา
พร้อมกับการสร้างออบเจ็กต์ ซึ่งออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสเดียวกันก็จะมีรายการของเมธอดต่างๆ
เหมือนกัน
การที่ออบเจ็กต์มีเมธอดจะช่วยให้ผู้ใช้งาน ไม่ต้องกังวล หรือไม่ต้องสนใจว่า จะมี
วิธีการทางานภายในเมธอดเป็นอย่างไร สนใจเพียงแค่ใช้งานอย่างไร ช่วยให้เมธอดที่มีไม่ถูกยุ่ง
ย่ามก้าวก่ายโดยไม่จาเป็น
อาร์กิวเมนต์และพารามิเตอร์
เมธอดหลักและเมธอดย่อย

เมธอดหลัก
- สร้างขึ้นเพื่อเรียกเมธอดอื่นๆ ขึ้นมาทางาน
- มีการเข้าถึงเมธอดหลักแบบสาธารณะ(public) สามารถนาเมธอดหลักไปใช้ได้กับทุกๆ คลาส
- สามารถเรียกใช้งานได้ทันทีไม่ต้องผ่านออบเจ็กต์
- ไม่มีการคืนค่ากลับไปที่เมธอดอื่น
รูปแบบการสร้างเมธอดหลัก
public static void main(String[ ] args)
{
รายละเอียดการทางานในเมธอด
}

- สาหรับเมธอดย่อยทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เมธอดหลัก อาจเป็น static method ,instant
method, contructor method, Overloading method หรือ Overriding method ก็ได้ แต่ละ
ชนิดมีโครงสร้างไม่เหมือนกับเมธอดหลัก ส่วนประกอบบางอย่างอาจมีหรือไม่มีก็ได้
ตามแต่ลักษณะการทางาน
รูปแบบการสร้างเมธอดย่อย
การเข้าถึงเมธอด ชนิดของข้อมูลที่จะส่งกลับออกไป ชื่อเมธอด
(ลักษณะของตัวแปรส่ง ชื่อตัวแปรส่ง)
{
รายละเอียดการทางานในเมธอด
}
Method รูปแบบต่างๆ
เมธอดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประเภทแบ่งตามลักษณะการทางานดังนี้
ประเภทที่ 1 : static method เป็นเมธอดที่เรียกใช้ตัวแปรได้ทันที ไม่ต้องมีการสร้าง
ออบเจ็กต์ขึ้นมาเพื่อเรียกใช้ตัวแปร เช่น การคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง static method
จะรับค่าที่ผู้ใช้ต้องการคานวณ และทาการคานวณ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปยังผู้ใช้
Method รูปแบบต่างๆ
ประเภทที่ 2 :instance method เป็นเมธอดทั่วๆ ไปที่สร้างขึ้นมาใช้กันบ่อยๆ เมธอด
แบบนี้จะไม่มีคาว่า static อยู่ข้างหน้าตัวแปร เมื่อจะเรียกใช้ method ประเภทนี้ จะต้องมี
การสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา
ประเภทที่ 3 : constructor method / constructor คือเมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาส ซึ่งเมื่อ
ออบเจ็กต์ใดๆ ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาสแล้ว เมธอดนี้จะเริ่มทางานทันทีเป็นเมธอดแรก
(ปกติมักจะใช้กาหนดค่าเริ่มต้นของการทางาน)
ประเภทที่ 4 : Overloading method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน แต่มีชนิดของ
ตัวแปรต่างชนิดกัน หรือจานวนอาร์กิวเมนต์ไม่เท่ากัน เพราะงานบางงานอาจใช้ชื่องาน
เดียวกัน แต่ต้องมีการแยกแยะว่า มีการส่งค่าตัวแปรชนิดใดมา เช่น ถ้าส่งค่าตัวแปรมาเป็น
Integer ก็ให้ทางานในเมธอดหนึ่ง ถ้าส่งมาเป็น String ก็ให้ทางานในอีกเมธอดหนึ่ง
ประเภทที่ 5 : Overriding method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน ชนิดของตัว
แปรเหมือนกัน แต่เขียนโปรแกรมในลักษณะที่เมธอดหนึ่งอยู่ในคลาสแม่ อีกเมธอดหนึ่ง
อยู่ในคลาสลูก ซึ่งเมื่อมีเมธอดชื่อซ้ากัน รับค่าของตัวแปรเหมือนกันปรากฏในคลาสลูก
โปรแกรมจะทางานตามคาสั่งในคลาสลูกโดยอัตโนมัติ ซึ่งส่วนนี้เราจะอธิบายอย่างละเอียด
ในบท Inheritance
การใช้งานเมธอดสาเร็จรูป
- เมธอดสาเร็จรูปเกี่ยวกับสตริง
รูปแบบการใช้งาน
System.out.print ( “ข้อความ”);
System.out.println ( “ข้อความ”);
System.out.print ( “ข้อความ”+ ตัวแปร);
System.out.print (ตัวแปร +“ข้อความ”);
System.out.print ( “ข้อความ” + ตัวแปร + “ข้อความ”);
System.out.print (ตัวแปร );

-การจัดรูปแบบการแสดงผลตัวเลข
รูปแบบการใช้งาน
DecimalFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new DecimalFormat(
pattern);
เมธอด toUpperCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่
รูปแบบการใช้งาน

ข้อความ.toUpperCase( )
เมธอด toLowerCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ. toLowerCase( )

การตัดคาด้วยเมธอด substring
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ. Substring( ตาแหน่งเริ่มต้นของคาที่การเหลือไว้ ,
จานวนตัวอักษรที่ต้องการเหลือไว้);
การแทนที่คาด้วยเมธอด replace
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความเดิม.replace( คาที่จะถูกแทนที,่ คาใหม่ที่แทนที่);

เมธอดที่ใช้ตัดช่องว่างด้วย trim
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ.trim( );

เมธอด split: แยกข้อความออกเป็นส่วนๆ
รูปแบบการใช้งาน
ข้อความ.Split(“อักษรที่ใช้ในการแบ่งข้อความ”);
เมธอด length : หาความยาวของข้อความ
รูปแบบการใช้งาน

ข้อความ.length( )
เมธอด floor : ปัดเศษทศนิยมลง
รูปแบบการใช้งาน
Math.floor(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม);

เมธอด ceil : ปัดเศษทศนิยมขึ้น
รูปแบบการใช้งาน
Math.ceil(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม);
เมธอด round : ปัดทศนิยมตามหลักคณิตศาสตร์
รูปแบบการใช้งาน
round (เลขทศนิยม, ตาแหน่งที่ต้องการปัดเศษทศนิยม);

เมธอด random : สุ่มตัวเลขทศนิยม
รูปแบบการใช้งาน
Math.random( );
เมธอดเพื่อการคานวณทางคณิตศาสตร์
นอกจากเมธอดทางคณิตศาสตร์ที่ได้กล่าวก่อนหน้านี้แล้ว ยังมีเมธอด
คณิตศาสตร์อื่นๆ ที่ช่วยในการคานวณทางคณิตศาสตร์ และการแปลงตัวเลขรูปแบบ
ต่างๆ มาให้ใช้งานกันมากมาย ดังตารางต่อไปนี้
คลาส Date: แสดงวันเดือนปี และเวลา
หรือ รูปแบบการใช้งาน
Date ชื่อออบเจ็กต์ = new Date( );
SimpleDateFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new SimpleDateFormat(รูปแบบที่
ต้องการแสดง);

More Related Content

เมธอด กลุ่ม3

  • 1. บทที่ 4 เรื่อง Method จัดทาโดย นายณัชนน หมอกลาง เลขที่ 2 นายพงศธร อยู่คง เลขที่ 3 น.ส.ปรียาภรณ์ แสงทวี เลขที่ 14 น.ส.ทิพย์อักษร โตแก้ว เลขที่ 18 น.ส.ประภัสสร บุญเงิน เลขที่ 21 น.ส.จุฑารัตน์ ลิ้มทอง เลขที่ 34 กลุ่มที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ เอี่ยมโพธิ์
  • 2. Method คืออะไร เมธอด (Method) คือ ความสามารถในการทางานของออบเจ็กต์ มันถูกสร้างขึ้นมา พร้อมกับการสร้างออบเจ็กต์ ซึ่งออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสเดียวกันก็จะมีรายการของเมธอดต่างๆ เหมือนกัน การที่ออบเจ็กต์มีเมธอดจะช่วยให้ผู้ใช้งาน ไม่ต้องกังวล หรือไม่ต้องสนใจว่า จะมี วิธีการทางานภายในเมธอดเป็นอย่างไร สนใจเพียงแค่ใช้งานอย่างไร ช่วยให้เมธอดที่มีไม่ถูกยุ่ง ย่ามก้าวก่ายโดยไม่จาเป็น
  • 4. เมธอดหลักและเมธอดย่อย เมธอดหลัก - สร้างขึ้นเพื่อเรียกเมธอดอื่นๆ ขึ้นมาทางาน - มีการเข้าถึงเมธอดหลักแบบสาธารณะ(public) สามารถนาเมธอดหลักไปใช้ได้กับทุกๆ คลาส - สามารถเรียกใช้งานได้ทันทีไม่ต้องผ่านออบเจ็กต์ - ไม่มีการคืนค่ากลับไปที่เมธอดอื่น
  • 5. รูปแบบการสร้างเมธอดหลัก public static void main(String[ ] args) { รายละเอียดการทางานในเมธอด } - สาหรับเมธอดย่อยทั่วๆ ไปที่ไม่ใช่เมธอดหลัก อาจเป็น static method ,instant method, contructor method, Overloading method หรือ Overriding method ก็ได้ แต่ละ ชนิดมีโครงสร้างไม่เหมือนกับเมธอดหลัก ส่วนประกอบบางอย่างอาจมีหรือไม่มีก็ได้ ตามแต่ลักษณะการทางาน
  • 7. Method รูปแบบต่างๆ เมธอดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประเภทแบ่งตามลักษณะการทางานดังนี้ ประเภทที่ 1 : static method เป็นเมธอดที่เรียกใช้ตัวแปรได้ทันที ไม่ต้องมีการสร้าง ออบเจ็กต์ขึ้นมาเพื่อเรียกใช้ตัวแปร เช่น การคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง static method จะรับค่าที่ผู้ใช้ต้องการคานวณ และทาการคานวณ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปยังผู้ใช้
  • 8. Method รูปแบบต่างๆ ประเภทที่ 2 :instance method เป็นเมธอดทั่วๆ ไปที่สร้างขึ้นมาใช้กันบ่อยๆ เมธอด แบบนี้จะไม่มีคาว่า static อยู่ข้างหน้าตัวแปร เมื่อจะเรียกใช้ method ประเภทนี้ จะต้องมี การสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา
  • 9. ประเภทที่ 3 : constructor method / constructor คือเมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาส ซึ่งเมื่อ ออบเจ็กต์ใดๆ ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาสแล้ว เมธอดนี้จะเริ่มทางานทันทีเป็นเมธอดแรก (ปกติมักจะใช้กาหนดค่าเริ่มต้นของการทางาน)
  • 10. ประเภทที่ 4 : Overloading method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน แต่มีชนิดของ ตัวแปรต่างชนิดกัน หรือจานวนอาร์กิวเมนต์ไม่เท่ากัน เพราะงานบางงานอาจใช้ชื่องาน เดียวกัน แต่ต้องมีการแยกแยะว่า มีการส่งค่าตัวแปรชนิดใดมา เช่น ถ้าส่งค่าตัวแปรมาเป็น Integer ก็ให้ทางานในเมธอดหนึ่ง ถ้าส่งมาเป็น String ก็ให้ทางานในอีกเมธอดหนึ่ง
  • 11. ประเภทที่ 5 : Overriding method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน ชนิดของตัว แปรเหมือนกัน แต่เขียนโปรแกรมในลักษณะที่เมธอดหนึ่งอยู่ในคลาสแม่ อีกเมธอดหนึ่ง อยู่ในคลาสลูก ซึ่งเมื่อมีเมธอดชื่อซ้ากัน รับค่าของตัวแปรเหมือนกันปรากฏในคลาสลูก โปรแกรมจะทางานตามคาสั่งในคลาสลูกโดยอัตโนมัติ ซึ่งส่วนนี้เราจะอธิบายอย่างละเอียด ในบท Inheritance
  • 12. การใช้งานเมธอดสาเร็จรูป - เมธอดสาเร็จรูปเกี่ยวกับสตริง รูปแบบการใช้งาน System.out.print ( “ข้อความ”); System.out.println ( “ข้อความ”); System.out.print ( “ข้อความ”+ ตัวแปร); System.out.print (ตัวแปร +“ข้อความ”); System.out.print ( “ข้อความ” + ตัวแปร + “ข้อความ”); System.out.print (ตัวแปร ); -การจัดรูปแบบการแสดงผลตัวเลข รูปแบบการใช้งาน DecimalFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new DecimalFormat( pattern);
  • 13. เมธอด toUpperCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.toUpperCase( ) เมธอด toLowerCase : เปลี่ยนข้อความเป็นตัวพิมพ์เล็ก รูปแบบการใช้งาน ข้อความ. toLowerCase( ) การตัดคาด้วยเมธอด substring รูปแบบการใช้งาน ข้อความ. Substring( ตาแหน่งเริ่มต้นของคาที่การเหลือไว้ , จานวนตัวอักษรที่ต้องการเหลือไว้);
  • 14. การแทนที่คาด้วยเมธอด replace รูปแบบการใช้งาน ข้อความเดิม.replace( คาที่จะถูกแทนที,่ คาใหม่ที่แทนที่); เมธอดที่ใช้ตัดช่องว่างด้วย trim รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.trim( ); เมธอด split: แยกข้อความออกเป็นส่วนๆ รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.Split(“อักษรที่ใช้ในการแบ่งข้อความ”);
  • 15. เมธอด length : หาความยาวของข้อความ รูปแบบการใช้งาน ข้อความ.length( ) เมธอด floor : ปัดเศษทศนิยมลง รูปแบบการใช้งาน Math.floor(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม); เมธอด ceil : ปัดเศษทศนิยมขึ้น รูปแบบการใช้งาน Math.ceil(ตัวแปร หรือเลขทศนิยม);
  • 16. เมธอด round : ปัดทศนิยมตามหลักคณิตศาสตร์ รูปแบบการใช้งาน round (เลขทศนิยม, ตาแหน่งที่ต้องการปัดเศษทศนิยม); เมธอด random : สุ่มตัวเลขทศนิยม รูปแบบการใช้งาน Math.random( );
  • 18. คลาส Date: แสดงวันเดือนปี และเวลา หรือ รูปแบบการใช้งาน Date ชื่อออบเจ็กต์ = new Date( ); SimpleDateFormat ชื่อออบเจ็กต์ = new SimpleDateFormat(รูปแบบที่ ต้องการแสดง);