ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
ความสามารถของระบบต่างๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรีรวิทยาด้าน
ต่างๆ ที่ช่วยป้องกันบุคคลจากโรคที่มีสาเหตุจากภาวะการขาดการออกกาลังกาย
นับเป็นปัจจัยหรือตัวบ่งชี้สาคัญของการมีสุขภาพดี ความสามารถหรือสมรรถนะ
เหล่านี้ สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพได้ โดยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพมีองค์ประกอบ ดังนี้
1.องค์ประกอบของร่างกาย(BodyComposition)
ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย กล้ามเนื้อ กระดูก ไขมัน และ ส่วน
อื่นๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายนั้น หมายถึง สัดส่วนปริมาณไขมันใน
ร่างกายกับมวลร่างกายที่ปราศจากไขมัน โดยการวัดออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์
ไขมัน (% fat)
2.ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด(Cardiorespiratory
Endurance)
หมายถึง สมรรถนะเชิงปฏิบัติของระบบไหลเวียนเลือด (หัวใจ หลอดเลือด)
และระบบหายใจในการลาเลียงออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ ทาให้ร่างกาย
สามารถยืนหยัดที่จะทางานหรือออกกาลังกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็น
ระยะเวลายาวนานได้
3.ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น(Flexibility)
หมายถึง พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุดเท่าที่จะทาได้ของข้อต่อหรือกลุ่มข้อต่อ
4.ความอดทนของกล้ามเนื้อ ( Muscular Endurance )
หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อ ในการหด
ตัวซ้าๆ เพื่อต้านแรงหรือความสามารถในการหดตัวครั้งเดียวได้เป็นระยะเวลา
ยาวนาน
5.ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ( Muscular Strength )
หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงที่กล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือ
กลุ่มกล้ามเนื้อสามารถออกแรงต้านทานได้ ในช่วงการหดตัว 1
ครั้ง
ความสามารถของร่างกายที่ช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬาได้ดีมีองค์ประกอบ6ด้านดังนี้
1.ความคล่อง (Agility )หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว
และสามารถควบคุมได้
2.การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไว้ได้ทั้งในขณะอยู่
กับที่และเคลื่อนที่
3.การประสานสัมพันธ์ ( Co-ordination)หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวได้อย่าง
ราบรื่น กลมกลืน และ มีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นการทางานประสารสอดคล้องระหว่างตา-มือ-เท้า
4.พลังกล้ามเนื้อ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหนึ่งส่วนใดหรือหลายๆ ส่วน
ของร่างกายในการหดตัวเพื่อทางานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ได้เป็นผลรวมของความแข็งแรง
และความเร็วที่ใช้ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เช่น การยืนอยู่กับที่ กระโดดไกล การทุ่มน้าหนัก เป็นต้น
5.เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง ( Reaction time)หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าต่างๆ เช่น แสง เสียง สัมผัส
6.ความเร็ว (Speed)หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่าง
รวดเร็ว
หลักการในการออกกาลังกาย
1.ปริมาณในการฝึก ( Volume)
2.ความหนักในการฝึก ( Intensity )
3.ความบ่อยครั้ง/ ความถี่ในการฝึก ( Frequency )
4.ระยะเวลาในการฝึก ( Duration )
5.ระยะเวลาในการพักฟื้นสภาพร่างกาย ( Recovery )
6.รูปแบบในการฝึก ( Pattern of Exercise )
สิ่งที่ควรคานึงในการฝึกสมรรถภาพและทักษะกีฬา
1.ประวัติของผู้เข้ารับการฝึก เพศ วัย ภูมิหลัง โรคภัยไข้เจ็บ
2.ความพร้อมทางด้านร่างกาย ความแข็งแรง อายุ รูปร่าง สัดส่วนของนักกีฬาที่จะเข้ารับการฝึก
มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใดกับชนิดและประเภทกีฬาที่จะทาการฝึก
3.อวัยวะหลักและรองในการออกกาลังกาย
4.เข้าใจระบบพลังงานที่ใช้ในการออกกาลังกาย
5.การจัดรูปแบบและขั้นตอนการฝึก ควรเริ่มจากง่ายไปหายาก จากเบาไปหาหนัก และ จากช้า
ไปหาเร็ว ไม่ควรเร่งรัดข้ามขั้นตอนการฝึก
6.ไม่ควรฝึกทักษะ เมื่อร่างกายนักกีฬามีความเมื่อยล้า อ่อนเพลีย หรือ หมดแรง สิ่งที่ได้ไม่เป็น
ผลตีต่อร่างกาย
ระบบพลังงานร่างกาย
เป็นการออกกาลังกายหรือประกอบกิจกรรมที่มีระยะเวลาสั้น ๆ (ต่ากว่า 10 วินาที )
สารอาหารที่ใช้เป็นแหล่งพลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรท
2. แหล่งพลังงานจาก กรดแลคติค (ความเร็ว)
1. แหล่งพลังงานจาก ATP-PC (พลัง)
เป็นการออกกาลังกายหรือประกอบกิจกรรมที่มีระยะเวลาประมาณ 10 วินาที ถึง 2 นาที
สารอาหารที่ใช้เป็นแหล่งพลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรทและ ไขมันบ้างเล็กน้อย
3. แหล่งพลังงานจากออกซิเจน (ความอดทน)
เป็นการออกกาลังกาย หรือประกอบกิจกรรมที่มีระยะเวลานานกว่า 2 นาที ถึง
หลายชั่วโมง สารอาหารที่ใช้เป็นพลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรทและไขมัน

More Related Content

การพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ม.3