ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
ปัจจุบันเทคโนโลยีการสื่อสารได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพที่สูงขึ้นกว่าเดิม อาทิเช่น ระบบคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต โดยเราจะ
เราจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันตามอาคารบ้านพักอาศัย รวมไปถึงสานักงานต่างๆ มีการใช้
การใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลาย โดยถูกนามาใช้ใน
ในชีวิตประจาวันจนกลายเป็นสิ่งจาเป็นมากขึ้น เช่น การเก็บข้อมูล การติดต่อสื่อสาร
ติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล การซื้อขายสินค้า รวมถึงความบันเทิง เป็นต้น ซึ่ง
สามารถกระทาได้สะดวกและรวดเร็ว โดยระบบอินเทอร์เน็ตนั้นมาจากการพัฒนา
พัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล หรือเรียกว่า “ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์” ซึ่งในปัจจุบันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากกว่าใน
มากกว่าในอดีต เป็นอย่างมาก เพราะสามารถพบเห็นและทาความเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ขึ้น สาหรับเนื้อหาบทนี้จะกล่าวถึงภาพรวมในเรื่องของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นิยามของคาว่าระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ได้มี
มีนักวิชาการได้กล่าวถึงความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไว้หลายท่านดังนี้
ฝ่ายผลิตหนังสือตาราวิชาการคอมพิวเตอร์ สานักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น
(2551, หน้า 21) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง
การนากลุ่มคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย การ
เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน จาเป็นต้องมีสื่อกลางในการสื่อสาร ซึ่งอาจ
เป็นสายเคเบิล หรือคลื่นวิทยุ
จตุชัย แพงจันทร์ และอนุโชต วุฒิพรพงษ์ (2551, หน้า 6) ได้กล่าวว่า
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง ระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่อง
เชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง และสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากข้อมูลข้างต้นสรุปได้ว่า ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การ
ติดต่อสื่อสารหรือการเชื่อมต่อกันระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้น ผ่าน
ผ่านสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารหรือการเชื่อมต่อ ได้ทั้งสื่อกลางแบบมีสายหรือ
สื่อกลางแบบไม่มีสายก็ได้อาทิเช่น สายเคเบิล หรือผ่านคลื่นวิทยุ โดยมีจุดประสงค์
จุดประสงค์หลักเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารหรือใช้ในการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและ
และกัน
องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลไม่ว่าจะเป็นคนหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ จะประสบความสาเร็จ
หรือไม่ขึ้นอยู่กับส่วนประกอบหลายประการ โดยพื้นฐานแล้วระบบการสื่อสารข้อมูล
ข้อมูลจะประกอบไปด้วย 5 ส่วนสาคัญดังนี้
ข้อมูล (Data) คือสิ่งที่เราต้องการส่งไปยังปลายทาง เช่น ข่าวสารหรือ
สารสนเทศ อาจเป็นข้อความ ภาพ วิดีโอ หรือสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งข้อมูลที่
ที่ส่งไปจะผ่านสื่อกลางอาจจะเป็นแบบมีสายและแบบไม่มีสายก็ได้เมื่อไปถึง
ปลายทางผู้รับจะต้องสามารถเข้าใจข่าวสารนั้นได้
ฝ้ ายส่งข้อมูล (Sender) คือ แหล่งกาเนิดข่าวสาร (Source) หรือ
อุปกรณ์ที่นามาใช้สาหรับส่งข่าวสาร ตัวอย่างอุปกรณ์ส่งข้อมูล เช่น คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์ เร้าท์เตอร์ เป็นต้น
ฝ้ ายรับข้อมูล (Receiver) คือ จุดหมายปลายทางของข่าวสาร
(Destination) หรืออุปกรณ์ที่นามาใช้สาหรับรับข่าวสารที่ส่งมาจากฝ้ ายส่งข้อมูล
เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ เร้าท์เตอร์ เป็นต้น
สื่อกลางส่งข้อมูล (Media) คือ ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่จะนาเอา
ข้อมูลข่าวสารจากฝุายส่งข้อมูลไปยังฝุายรับข้อมูล ซึ่งเป็นเสมือนเส้นทางที่
ลาเลียงข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง โดยปัจจุบันสื่อกลางมีอยู่ 2 ลักษณะ
คือ แบบมีสาย เช่น สายคู่บิตเกลียว สายใยแก้วนาแสง และแบบไม่มีสาย เช่น
คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นอินฟราเรด เป็นต้น
โพรโตคอล (Protocol) คือ มาตรฐานหรือข้อตกลงที่จะใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารร่วมกันระหว่างฝ้ ายผู้ส่งกับฝ้ ายผู้รับ นั้นก็คือการสื่อสารจะประสบ
ความสาเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับว่าผู้รับสารได้เข้าใจสารตรงตามที่ผู้ส่งต้องการ
หรือไม่ กรณีที่ผู้รับสารเข้าใจข่าวสารผิดพลาดจะถือได้ว่าการสื่อสารนั้นลมเหลว
เช่น คนไทยต้องการสื่อสารกับคนลาว โดยต่างคนต่างพูดภาษาของตนเองรับรอง
ว่า ไม่สามารถสื่อสารกันได้อย่างแน่นอน จาเป็นต้องมีภาษากลางที่ทั้งสองฝ้ าย
ยอมรับ ในที่นี้ให้เป็นภาษาอังกฤษ ทั้งคนไทยและคนลาวก็ใช้ภาษาอังกฤษ
ติดต่อสื่อสารกันก็จะสื่อสารกันเข้าใจ โพรโตคอลในที่นี้คือภาษาอังกฤษ เป็นต้น
โดยเมื่อนาองค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน
องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
โพรโตคอล (Protocol) คือมาตรฐานหรือข้อตกลงที่ตั้งขึ้นเพื่อทาให้ผู้ที่
จะสื่อสารกันเข้าใจกัน หรือโปรโตคอลเดียวกัน เช่น กรณีที่จะเชื่อมต่อเข้าระบบ
อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อผ่านโพรโตคอล TCP/IP เป็นต้น
ระบบปฏิบัติเครือข่าย (Network Operating System: NOS) คือชุด
โปรแกรมที่เป็นตัวช่วยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน หรือ
เป็นตัวกลางในการควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ของเครือข่าย เช่น Windows
server 2008, Unix และ Linux เป็นต้น
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดประโยชน์ต่างๆ มากมายหลาย
ประการด้วยกัน
ด้านการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ซึ่งถือเป็นประโยชน์สูงสุดของการเชื่อมต่อ
เชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ด้านการลดค่าใช้จ่าย คือ เมื่อมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้
ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายลง
ด้านความสะดวกในด้านการสื่อสาร การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
ส่งผลให้การติดต่อเพื่อดาเนินธุรกรรมใด ๆ บรรลุผลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
ด้านความน่าเชื่อถือของระบบงาน เนื่องจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ มีการ
จัดเก็บไว้หลายที่โดยมีระบบปฏิบัติการเครือข่าย เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยจัดการสิทธิการ
การใช้งานของผู้ใช้และมีระบบปูองกันความปลอดภัย ที่ดีและมีประสิทธิภาพ

More Related Content

บทที่3