ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Business Research Method
100-009
วิธีการวิจัยทางธุรกิจ
[อ.นิธินพ ทองวาสนาสง]
ตัวแปรและสมมุติฐานในการวิจัย
หัวขอสําคัญในบท
2
• ความหมายของตัวแปร (Variables)
• ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
• รูปแบบหรือทิศทางของความสัมพันธ
• ความหมาย ของ สมมุติฐาน (Hypothesis)
• แหลงที่มาของสมมุติฐาน
• ประโยชนของสมมุติฐาน
• ประเภทของสมมุติฐาน
• สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
• ลักษณะของสมมุติฐานที่ดี
• ขอแนะนําในการตั้งสมมุติฐาน
• คุณสมบัติหรือคุณลักษณะของสิ่งตาง ๆ ทั้งที่เปน
สิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต เชน เพศ อายุ อาชีพ รายได
ฯลฯ
ความหมายของตัวแปร(Variables)
3
A. ตัวแปรตน (Independent Variable)
B. ตัวแปรตาม (Dependent Variable)
C. ตัวแปรแทรกซอน (Extraneous Variable)
ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
4
• เปนตัวแปรที่เกิดขึ้นกอน เปนเหตุที่กอใหเกิดผลหรือเกิด
การผันแปรของปรากฎการณ
• ผูวิจัยมักเปนผูกําหนดเพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้น
• แทนดวยสัญลักษณ X
ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
5
A. ตัวแปรตน (Independent Variable)
• ตัวแปรที่เปนผลจากการเปลี่ยนแปลงคาของตัวแปรตน
• นํามาวิเคราะหเพื่อตอบคําถามของการวิจัย
• แทนดวยสัญลักษณ Y
ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
6
B. ตัวแปรตาม(Dependent Variable)
• เปนตัวแปรที่ไมไดมุงศึกษาโดยตรง แตอาจมีผลกระทบ
ตอตัวแปรตามได
• ตัวแปรแทรกซอนอาจเกิดไดจากแหลงตาง ๆ เชน กลุม
ตัวอยาง สิ่งแวดลอม วิธีดําเนินการวิจัย
ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
7
C. ตัวแปรแทรกซอน(Extraneous Variable)
เรื่อง : การเปรียบเทียบผลการทํางานโดยใชพนักงานชายกับพนักงานหญิง
• ตัวแปรตน คือ เพศ
• ตัวแปรตาม คือ ผลการทํางาน
• ตัวแปรแทรกซอน คือ ระดับการศึกษา อายุ ประสบการณ
ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
8
ตัวอยาง ตัวแปรบทบาทตาง ๆ
 แบบสมมาตร ไมสามารถบอกไดวาเปนตัวแปรใด แตมีความสัมพันธกัน
เชน คนไทยกินขาว
 แบบตอบโต มีความสัมพันธกันแตไมมีตัวแปรใดเปนตัวแปรตน
ตลอดไป เชน ความนิยมพรรคฯกับการติดตามขาวสารพรรคฯ
 แบบอสมมาตร มีความสัมพันธที่ตัวแปรตนมีผลตอตัวแปรตาม เชน
ระดับการศึกษามีผลตอการบริโภคสินคา
ชนิดของตัวแปร แบงตามบทบาท
9
ความสัมพันธระหวางตัวแปร มี 3 ชนิด
• ทิศทางเดียวกัน (ทางบวก) เชน ประสบการณในการทํางานที่มากขึ้น
สงผลใหผลผลิตมากขึ้น (เขียนกราฟ)
• ทิศทางตรงขาม (ทางลบ) เชน ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นสงผลใหกําไรของ
กิจการลดลง
• เปนเสนโคง เชน 6 ชม.การทํางาน/วันเปนเวลาทํางานที่มีประสิทธิภาพ
มากที่สุด จะเปนเสนโคงคว่ํา แสดงถึงจุดสูงสุด ผลผลิต 200 ชิ้น/วันเปน
ผลใหตนทุนตอหนวยต่ําสุด จะเปนเสนโคงหงาย แสดงถึงจุดต่ําสุด
รูปแบบหรือทิศทางของความสัมพันธ
10
• คําตอบที่คาดการณไวลวงหนาอยางสมเหตุสมผลตอปญหาที่จะศึกษา
• เขียนในลักษณะที่ขอความกลาวถึงความสัมพันธของตัวแปรตั้งแต 2 ตัว
แปรขึ้นไป
• ตัวอยางสมมุติฐาน เชน สตรีที่อยูในเมืองทํางานนอกบานมากกวาสตรีที่
อยูในชนบท
• เด็กที่ถูกเลี้ยงดูแบบเขมงวดมีวินัยมากกวาเด็กที่เลี้ยงดูแบบปลอยปละ
ละเลย
ความหมาย ของ สมมุติฐาน(Hypothesis)
11
• ความรูและประสบการณของผูวิจัย
• การใชหลักเหตุผลวิเคราะหแยกแยะวาอะไรสัมพันธกับอะไร
• การเปรียบเทียบกับสิ่งที่เปนธรรมชาติหรือความจริงที่พบใน
สาขาอื่น
• ความเชื่อและปรัชญา
• ผลการวิจัยของผูอื่น
• ทฤษฎีและหลักการ
แหลงที่มาของสมมุติฐาน
12
• สามารถเลือกตัวแปรที่จะศึกษาวามีตัวแปรอะไรบาง
• เลือกขอมูลที่จะศึกษาไดตรงประเด็น
• ชวยใหทราบวาจะใชการวิจัยแบบใด
• ชวยใหทราบวาจะใชกลุมตัวอยางแบบใด เก็บขอมูลอยางไร ใช
เครื่องมืออะไรในการทดสอบสมมุติฐาน
ประโยชนของสมมุติฐาน
13
1. สมมุติฐานการวิจัย
- มีทิศทาง หญิงมีความสนใจทางการเมืองนอยกวาชาย
- ไมมีทิศทาง หญิงกับชายมีความสนใจทางการเมืองตางกัน
2. สมมุติฐานทางสถิติ
- หลัก แทนดวยสัญลักษณ Ho อธิบายคุณลักษณะที่ไมแตกตางกัน
- ทางเลือก แทนดวยสัญลักษณ H1 อธิบายถึงความสัมพันธวามี
ความสัมพันธกันไปในทางใด
ประเภทของสมมุติฐาน มี 2 ประเภท
14
สมมุติฐานหลัก
• เปนสมมุติฐานที่กลาวถึงลักษณะของประชากร หรือ
เรียกวา สมมุติฐานไรนัยสําคัญ สมมุติฐานวาง
สมมุติฐานสูญ สมมุติฐานแรก แทนดวย H0
• คาเฉลี่ยของประชากรชายเทากับ 50
H0 : µ = 50
สัญลักษณ µ (มิว) แทนคาเฉลี่ยของประชากร
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
15
ความแปรปรวนของคะแนนของประชากรหนึ่งเปน 40
H0 :σ2 = 40
สัญลักษณ σ2 (ซิกมากําลังสอง เปนสัญลักษณแทน
ความแปรปรวนของประชากร)
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
16
สมมุติฐานที่กลาววาไมมีความสัมพันธหรือไมมีความแตกตาง
• คาสหสัมพัทธในประชากรจะเปนศูนย
H0 : ρ = 0
สัญลักษณ ρ แทนคาสหสัมพัทธที่คิดมาจากขอมูลของประชากร
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
17
• คาเฉลี่ยของประชากรกลุม ก และกลุม ข ไม
แตกตางกัน
H0 : µก ≠ µข
*สมมุติฐานหลักคือสมมุติฐานที่จะใชทดสอบทาง
สถิติ
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
18
สมมุติฐานรอง
• คือสมมุติฐานตรงขามกับสมมุติฐานหลัก เขียนแทนดวย
สัญลักษณ
HA หรือ H1
โดยทั่วไปสมมุติฐานในการวิจัยจะเปนสมมุติฐานประเภทนี้
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
19
• การทดสอบสมมุติฐานไมสามารถทดสอบสมมุติฐานรองไดแตจะอาศัย
การทดสอบสมมุติฐานหลักแทน เพราะถาหากสมมุติฐานหลักไมจริง
แสดงวาตองยอมรับสมมุติฐานรอง
• ปฏิเสธ H0 ยอมรับ HA
• ปฏิเสธ HA ยอมรับ H0
สมมุติฐานรอง มี 2 แบบ คือ
• แบบที่มีทิศทาง (Directional alternative H)
• แบบที่ไมมีทิศทาง (Non-directional alternative
Hypothesis)
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
20
HA : µ > 50
HA : µ < 50
HA : µก > µข
HA : µก < µข
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
21
แบบไมมีทิศทาง
• คาเฉลี่ยของประชากรไมเทากับ 50
HA : µ ≠ 50
• คาเฉลี่ยของประชากรกลุม ก ไมเทากับกลุม ข
HA : µก ≠ µข
สัญลักษณในการตั้งสมมุติฐาน
22
1. ตองสอดคลองกับจุดมุงหมาย
2. แตละขอตองใชตอบคําถามเพียงประเด็นเดียว
3. สอดคลองกับสภาพที่เปนจริงและยอมรับกันทั่วไป
4. สมเหตุสมผลตามทฤษฎี
5. เขียนดวยถอยคําที่อานเขาใจงาย
6. มีขอบเขตพอเหมาะไมแคบหรือกวางเกินไป
ลักษณะของสมมุติฐานที่ดี
23
• ควรทําหลังจากที่ไดศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของแลว
• ควรเขียนในรูปของประโยคบอกเลามากกวาประโยคคําถาม
• งานวิจัยที่ทําควรมีเรื่องประเด็นที่จะศึกษามากพอที่จะตั้ง
สมมุติฐาน
• คําหรือกลุมคําที่ใชในประโยคสมมุติฐานตองชัดเจน
ขอแนะนําในการตั้งสมมุติฐาน
24
ตัวอยางสมมุติฐานตอไปนี้ใหนักศึกษาระบุตัวแปรตนและตัวแปรตาม
1. นักเรียนชายสนใจขาวกีฬามากกวานักเรียนหญิง
2. คนจีนมีความสามารถทางการคามากกวาคนไทย
3. เด็กที่รับการอบรมเลี้ยงดูตางกันมีการปรับตัวแตกตางกัน
4. ระดับการศึกษากับประสิทธิภาพในการทํางานมีความสัมพันธกัน
ทางบวก
คําถามและอภิปราย
25
ตัวอยางตอไปนี้ใหนักศึกษาระบุวาเปนสมมุติฐานการวิจัยประเภทใด
1. ความคิดสรางสรรคกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธกัน
2. การสูบบุหรี่กับความสามารถในการดูดซับออกซิเจนของปอดมี
ความสัมพันธกันทางลบ
3. นักเรียนชายสนใจขาวกีฬามากกวานักเรียนหญิง
4. คนจีนมีความสามารถทางการคามากกวาคนไทย
5. เด็กที่รับการอบรมเลี้ยงดูตางกันมีการปรับตัวแตกตางกัน
6. ระดับการศึกษากับประสิทธิภาพในการทํางานมีความสัมพันธกัน
ทางบวก
คําถามและอภิปราย
26
• ใหนักศึกษาเขียนสมมุติฐานจากหัวขอการวิจัยที่ไดตั้งไวจาก
สัปดาหกอน
คําถามและอภิปราย
27
Q&Aอาจารย นิธินพ ทองวาสนาสง
E-mail: Nitinop.inova@gmail.com
Tel: 085-352-1050

More Related Content

3 ตัวแปร,สมมุติฐาน,กรอบแนวคิด