ݺߣ
Submit Search
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
•
0 likes
•
230 views
รัสนา สิงหปรีชา
Follow
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Read less
Read more
1 of 23
Download now
Download to read offline
More Related Content
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
1.
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
2.
วัตถุประสงค์ 1. อธิบายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 2. อธิบายหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ 3.
เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 4. อธิบายขั้นตอนและวิธีการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
3.
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการดาเนินชีวิตประจาวันใน ด้านต่าง ๆ มากมายคอมพิวเตอร์ได้นาไปใช้ในอุปกรณ์เครื่องใช้ใน บ้านเรือน
เช่น เครื่องซักผ้า โทรทัศน์ โทรศัพท์ เป็นต้นนอกจากนี้ ที่พบ เห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารต่าง ๆ โดยสรุปคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทกับวิถีชีวิตใน ด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. การศึกษา มีการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ เช่น การค้นหาข้อมูลข่าวสารความรู้ประกอบการเรียน การสอนจากอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ครู อาจารย์ยังใช้คอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรือเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา ใช้คอมพิวเตอร์สอนภาษา เป็นต้น
4.
2. งานธุรกิจ เช่น
บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจน โรงงานต่าง ๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคาและติดต่อกับ หน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบ ชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมี คุณภาพดีขึ้น หรืองานธนาคารที่ให้บริการถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงิน อัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์ คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงินและการ โอนเงินระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย
5.
3. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์
และงานสาธารณสุข สามารถนา คอมพิวเตอร์มาใช้ในส่วนของการคานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษา โมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของโลก การส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรืองาน ทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซึ่งจะ ให้ผลที่แม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเร็ว ขึ้น หล่อ ลากไส้ จังเลย
6.
4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกร สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ
หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหวโดย คอมพิวเตอร์จะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน 5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มาก ที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของ หน่วยงานนั้น ๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุม ทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ จัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่าง ๆ
7.
ประวัติคอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ. 2336
นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ได้ประดิษฐ์เครื่องผลต่าง (Difference Engine) ที่มี ฟังก์ชันทางตรีโกณมิติต่าง ๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ ชาลส์ แบบเบจ “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์”
8.
ต่อมาในปี พ.ศ. 2376
ได้ออกแบบเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) ซึ่งมีหลักการทางานคล้ายคอมพิวเตอร์ ทั่วไปในปัจจุบัน การทางานของเครื่องนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนคานวณ และส่วนควบคุม ใช้ระบบพลัง เครื่องยนต์ไอน้าหมุนฟันเฟือง มีข้อมูลอยู่ในบัตรเจาะรู คานวณได้โดยอัตโนมัติ และเก็บข้อมูลในหน่วยความจาก่อน จะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ
9.
เครื่องผลต่าง (difference engine)
เครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) จากแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างเครื่องผลต่างและออกแบบ เครื่องวิเคราะห์ นับเป็นประโยชน์ต่อวงการคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมา เป็นอย่างมาก ชาลส์ แบบเบจ จึงได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่ง คอมพิวเตอร์”
10.
วงจรการทางานของคอมพิวเตอร์
11.
1. ส่วนรับข้อมูล (Input
Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์ มากมายแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ – Keyboard (คีย์บอร์ด) – Mouse (เมาส์) – Scanner (สแกนเนอร์) – Webcam (เว็บแคม) – Microphone (ไมโครโฟน)
12.
1. ส่วนรับข้อมูล (Input
Unit) ทาหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์ มากมายแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ – Keyboard (คีย์บอร์ด) – Mouse (เมาส์) – Scanner (สแกนเนอร์) - Webcam (เว็บแคม) – Microphone (ไมโครโฟน) – Touch screen (ทัชสกรีน)
13.
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing
Unit) ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่จะขาดไม่ได้เลยคือหน่วย ประมวลผลกลาง หรือ ซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน ส่วนประกอบของหน่วย ประมวลผลกลางนั้นประกอบไปด้วย 1. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) 2. หน่วยควบคุม (Control Unit) 3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
14.
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล
(Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จาก คอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 3.1) หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึง การแสดงผล ออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้ว ผลนั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็ สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้ สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ได้แก่ – จอภาพ (Monitor) – อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector) – อุปกรณ์เสียง (Audio Output)
15.
3.2) หน่วยแสดงผลถาวร (Hard
Copy) หมายถึง การแสดงผลที่ สามารถจับต้อง และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของ กระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถนาไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรือให้ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ ได้ อุปกรณ์ที่ใช้เช่น – เครื่องพิมพ์ (Printer) – เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
16.
4. หน่วยความจา (Memory
Unit) หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูล ที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทาการ ประมวลผล และรับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล และเตรียมส่งออกหน่วย แสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่งหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ 4.1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) 4.2) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
17.
รอม (ROM) หน่วยความจาแบบถาวร หรือ
รอม (ROM : Read Only Memory) เป็น หน่วยความจาชนิด Nonvolatile Memory คือไม่ขึ้นอยู่กับกระแสไฟฟ้าที่จ่ายเข้า มาโดยข้อมูลที่เก็บในหน่วยความจา ROM จะไม่ถูกลบทิ้งถึงแม้จะปิดเครื่องไป แล้วก็ตาม ข้อมูลเหล่านี้จะประกอบไปด้วยชุดคาสั่งการเริ่มต้นการทางานของ เครื่อง และเป็นข้อมูลชนิดอ่านอย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมได้อีก แรม (RAM) หน่วยความจาแบบชั่วคราว หรือ แรม (RAM : Random Access Memory) เป็นหน่วยความจาชนิด Volatile Memory คือสามารถเก็บข้อมูลได้ เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าเข้ามาเท่านั้น เมื่อใดก็ตามที่ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาแรมจะสูญหายไปทันที ดังนั้นถ้าต้องการเก็บข้อมูล ที่อยู่ในหน่วยความจาแรม จะต้องถ่ายเทข้อมูลเหล่านั้นไปเก็บไว้ใน หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
18.
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ฮาร์ดดิสก์
หรือจานบันทึกแบบแข็ง (Hard Disk) คืออุปกรณ์บรรจุข้อมูลแบบ ไม่ลบเลือน แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือ ฟลอปปีดิสก์ (Floppy Disk) แผ่นดิสก์แบบอ่อนหรือฟลอปปีดิสก์ (Floppy Disk) หรือ ที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์หรือดิสก์เกตต์ (Diskette) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่อาศัยหลักการเหนี่ยวนา ของสนามแม่เหล็ก แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสง แผ่นซีดีที่อ่านได้อย่างเดียว เรียกกันว่าซีดีรอม (CD- ROM หน่วยความจาแบบเฟลช (Flash memory) หน่วยความจาแบบเฟลช (Flash memory) เป็นหน่วยความจาประเภท รอมที่เรียกว่า อี อีพร็อม (Electrically Erasable Programnable Read Only Memory : EEPROM) ซึ่ง เป็นเทคโนโลยี ที่นาข้อดีของรอม และแรม มารวมกัน
19.
การทางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ สร้างขึ้น เพื่อใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ
ทั้งในรูปแบบที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทาง คณิตศาสตร์ ซึ่งปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมที่ตั้งไว้สาหรับการ ทางานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทางานพื้นฐาน ๔ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 รับข้อมูล (input) เป็นการนาข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่ เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผ่านอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆเช่น การพิมพ์ ข้อความเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้แป้นพิมพ์ การบันทึกเสียงโดย ผ่านไมโครโฟน เป็นต้น
20.
ขั้นที่ 2 ประมวลผลข้อมูล
(process) เป็นการนาข้อมูลมา ประมวลผลตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์หรือ สารสนเทศ เช่น การนาข้อมูลที่รับเข้ามาหาผลรวม เปรียบเทียบ คานวณเกรดเฉลี่ย เป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์สาหรับประมวลที่สาคัญ คือ หน่วยประมวลผลกลาง ขั้นที่ 3 จัดเก็บข้อมูล (storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูล ชั่วคราวในขณะที่มีการประมวลผลแรม รวมถึงจัดเก็บข้อมูลที่ผ่าน การประมวลผลลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสถ์ (hard disk) แฟลชไดร์ฟ (flash drive) เป็นต้น
21.
ขั้นที่ 4 แสดงผลข้อมูล
(output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้ จากการประมวลผลมาแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจ กล่าวคือ อยู่ในรูปแบบของข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เสียง โดยผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่าง ๆ เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
22.
การทางานของเครื่องรับเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller
Machine : ATM ) ซึ่งเครื่องเอทีเอ็มถือเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่ง เนื่องจากมีการ ทางาน 4 ขั้นตอน คือ 1. การรับข้อมูลเข้าโดยผู้ใช้ใส่บัตรเอทีเอ็มและป้อนข้อมูลรหัสเอทีเอ็ม 2. จากนั้นผู้ใช้เลือกคาสั่งถอนเงินจะถูกส่งไปประมวลผล คือ การอ่าน ยอดเงินในบัญชีและการหักเงินที่ถอนในบัญชีธนาคาร 3. จากนั้นเครื่องเอทีเอ็มจะแสดงยอดเงินคงเหลือในบัญชีให้ผู้ใช้ทราบ 4. และสุดท้ายเก็บข้อมูลการถอนและยอดเงินคงเหลือไว้ในบัญชี ธนาคาร
23.
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER
Download