ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การพัฒนางานออกแบบทางวิศวกรรมเพื่อทาลายเส้นขวางกั้นระหว่าง
ผู้ออกแบบ, ผู้รับเหมาก่อสร้าง และเจ้าของโครงการ
โดยใช้
3D CONSTRUCTION MODELING
วรัญญู สงกรานต์ (วศ.ม สิ่งแวดล้อม)
Anaerobic Wastewater Treatment Consultant
Renewable Energy (Biogas) Project Consultant
“งานวิศวกรรมในอดีตที่ซึ่งผู้ออกแบบและผู้สร้างใช้เวลาร่วมกันถ่ายทอดงานออกแบบ
และงานก่อสร้างงานวิศวกรรมได้อย่างน่าทึ่ง”
บทที่ 1
ในอดีต วิศวกรผู้ออกแบบ (Designer)ได้ถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการทางานวิศวกรรม
ให้กับผู้สร้าง (Builder) โดยใช้การวาดภาพและให้รายละเอียด
ภาพง่ายๆ แต่สื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ยุคแรกๆ ของงานวิศวกรรม การขีดเขียนเพื่ออธิบายแนวคิดและวิธีการทาให้วิศวกร
ผู้ออกแบบสามารถสื่อสารกับผู้ทาการก่อสร้างได้ อาจจะบนก้อนหิน ผนังถ้า หนังสัตว์
เป็นต้น
การอธิบายโดยใช้งายขีดเขียนและการพูดคุยและทางานร่วมกัน ทาให้เกิดงานวิศวกรรมที่
สวยงามและมีประสิทธิภาพ
ผู้ออกแบบใช้ทักษะ ศิลปะ ถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการอย่างสวยงามและแม่นยา
งานฝีมือเหล่านี้ออกมาจากจิตวิญญาณถ่ายทอดผ่านปลายพู่กัน สร้างสรรค์งานวิศวกรรม
และสถาปัตที่สวยงามและมีคุณค่า
สถานที่ก่อสร้างเป็นที่ ที่ผู้ออกแบบ และผู้สร้างได้ทางานร่วมกัน แลกเปลี่ยนแนวคิด
แผนงานและการทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะมีอุปกรณ์ที่ไม่มีประสิทธิภาพ
เหมือนในปัจจุบัน
ด้วยทรัพยากรอันจากัด การทางานอย่างไกล้ชิด กันระหว่างวิศวกรผู้ออกแบบและผู้สร้าง
การถ่ายทอดจินตนาการผ่านงานฝีมือ ก่อให้๶กิึϸานวิศวกรรมที่ยิ่งใหญ่
แนวคิดแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING
งานวิศวกรรมในอดีตผู้ออกแบบได้ใช้ทักษะงานฝีมือและ
ศิลปะถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการให้กับผู้สร้างทั้งสองฝ่าย
ทางานร่วมกันที่หน้างาน (JOBSITE)แลกเปลี่ยนแนวคิด การ
ทางานร่วมกัน ก่อให้๶กิึϸานวิศวกรรมที่ยิ่งใหญ่ พวกเขาทา
ได้ก็เพราะว่า “ วิศวกรและผู้สร้างมีทักษะที่สูง(Super
engineer และ SkilledBuilder) ทั้งสองทางานที่เดียวกัน
แลกเปลี่ยนสื่อสารการทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
ในบทต่อไปผมจะอธิบายให้ฟังว่าวันต่างๆเหล่านี้หายไปได้
อย่างไร ในปัจจุบัน วันที่ผู้ออกแบบและผู้สร้างทางานร่วมกัน
ในที่เดียวกัน อย่างมีประสิทธิภาพ และในบทหลังๆก็จะ
แสดงให้เห็นว่า 3D CONSTRUCTIONMODELINGจะช่วย
เรียกวันเก่าเหล่านี้กลับมาได้อย่างไร
“ กาแพงขวางกั้นระหว่าง OFFICE และ FIELD”
บทที่ 2
เมื่ออุปกรณ์เขียนแบบก้าวหน้ามากขึ้น งานออกแบบและเขียนแบบจึงทาได้ง่าย
และรวดเร็ว
บวกกับการขยายตัวของงานก่อสร้าง การออกแบบอย่างเร่งรีบเพื่อให้ทันกับ
งาน ทาให้ผู้ออกแบบซึ่งครั้งนึง เคยอยู่ที่หน้างาน ต้องมานั่งที่ Office ลงมือ
ออกแบบด้วยแนวคิดของตนเอง
ในเวลาเดียวกัน งานออกแบบก็ถูกสร้างขึ้นแบบมีรูปแบบมาตรฐาน มี
รายละเอียดผูกมัดผู้สร้างมากขึ้น จากมาตรฐาน แบบก็กลายเป็นข้อกาหนดและ
สัญญา สร้างขึ้นเพื่อผูกมันทางกฎหมาย
แบบก่อสร้างที่ครั้งนึงเต็มไปด้วย รายละเอียดที่เรียบง่ายเต็มเปี่ยมไปด้วยงาน
ฝีมือและศิลปะ ก็กลายเป็นเครื่องมือที่เต็มไปด้วยข้อกาหนดผูกมัดการทางาน
ของผู้สร้าง เกิดเป็นเส้นแบ่งแยกการทางานที่ครั้งนึง เคยแน้นแฟ้น
ท้ายที่สุดผู้สร้างก็กลายเป็นผู้รับเหมา (Contractor) ทางานภายใต้ข้อกาหนด
มากมายของแบบ การบังคับตามกฏหมายและสัญญาทาให้แบบก่อสร้างจึงเป็น
หัวใจของการทางาน
และในที่สุดทั้งผู้ออกแบบและผู้สร้างก็แยกออกจากกัน โดยมีแบบตามสัญญา
และข้อกาหนดมากมาย เป็นเครื่องมือที่ใช้ทางานร่วมกันเท่านั้น
OFFICE
FIELD
ที่ OFFICR คอมพิวเตอร์และโปรแกรมช่วยเขียนแบบทาให้งานดาเนินการได้
อย่างรวดเร็ว การทางานซ้าแล้วซ้าอีกทาให้ OFFICE บางครั้งนาแบบกลับมาใช้
จนเกิดการผิดพลาด และขาดลายละเอียดปลีกย่อย ทาให้แบบต้องถูกแก้ไข
หลายครั้งเมื่อไปถึงหน้างาน
แบบที่ผิดพลาดและขาดรายละเอียดก่อให้เกิดการล่าช้าของงาน การแก้ไขงาน
เสียทั้งเงินและเวลา
ขนาดของโครงการที่ใหญ่ขึ้นที่ทางานแข่งกับเวลา ก็ยิ่งทาให้งานก่อสร้างที
ความตรึงเครียด ผู้รับเหมาต้องวางแผนอย่างมีระบบ
แผนงาน แบบก่อสร้าง การประชุม วางแผน จึงถูกทาขึ้นซ้าแล้วซ้าอีกเพื่อตาม
ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นและทาให้งานล่าช้า
“ การป้องกันปัญหาและแก้ไขปัญหาและการติดตามแผนงาน
ถูกทาขึ้นหลายครั้ง บางครั้งก็ยังเกิดปัญหาขึ้นอีกจนได้การ
ทางานหลายครั้ง การเกิดปัญหามากมายระหว่างก่อสร้างก็ทา
ให้สูญเสียทั้งเงิน เวลา และโอกาศที่จะทางานอื่นๆตีเป็น
ราคาไม่ได้
เห็นไหมละครับว่าการทางานแยกส่วนกัน และการแบ่งเส้น
ระหว่าง OFFICEหรือทีมออก/ที่ปรึกษา กับ FIELD หรือ
PROJECTENG และผู้รับเหมา ทาให้เกิดปัญหา หรือถ้าไม่
เกิดปัญหา การตามงานซ้าแล้วซ้าอีกก็เสียเวลาและเงิน
จานวนมาก
นักคิดมากมายได้เริ่มหาวิธีการใหม่ในการทางาน โดย
ปัจจุบัน แนวคิด BUILDINGINFORMATION
MODELING( BIM) ได้ถูกนามาใช้ในการแก้ไขปัญหา
เหล่านี้……..การทางานแบบรวมศูนย์และแลกเปลี่ยนข้อมูล
การทางานกับทุกคนในงานก่อสร้างโดยเมื่อทุกคนทางาน
และใช้ข้อมูลเดียวกันและแลกเปลี่ยนความเข้าใจซึ่งกันและ
กัน กาแพงขวางกั้นระหว่างOFFICEกับ FIELD จะถูก
ทาลายลงได้และในที่สุดการทางานจะเร็วขึ้นและปัญหาจะ
ลดลง”
BIM คือทางออกทางเดียวจริงหรือ?
ผมเองทางานออกแบบและรับเหมาก่อสร้างโครงการบาบัด
น้าเสียและระบบผลิตก๊าซชีวภาพขนาดใหญ่มากกว่า5 ปี ผม
ได้เห็นข้อขัดแย้งมากมายระหว่าง OFFICE และ FIELD
ปัญหา เหล่านี้มาจาก ความไม่เข้าใจในงาน และการวางแผน
งานที่หลวมและไม่ UPDATEผมต้องเสียเวลาในการ
ประสานงานและแก้ไขจนต้องเสียโอกาสในการหางานอื่นๆ
ให้บริษัท
BIM คือทางออก???? ผมว่าไช่นะแต่อีก 10 ปีมั้ง บริษัทเล็กๆ
อย่างเรา (ส่วนใหญ่ในไทย) จะหาคนทาได้เหรอ แค่นั่งเขียน
แบบกันยังไม่อยากทาเลยSOFTWARE BIMแพงมาก
เรียนรู้ก็นาน จะทาให้คนในองค์กรเล็กๆ หรือกลาง นามาใช้
เป็นแค่ความฝันเท่านั้น (ในความคิดผม)
แต่มันต้องมีทางออกใช้ไหมครับผมได้เจอทางออกนั้นแล้ว
โดยในบทต่อไป มาดูกันว่าผมใช้อะไรแก้ไขปัญหา และเชื่อ
ไหมว่าทีมงานของผมประกอบด้วยวิศวกรประสบการณ์ไม่
ถึงปี สามารถ BID โครงการกว่า 100 MB ได้ และใช้งาน
สามมิติในการจัดการแผนงาน จัดซื้อ จาลองแผนการทางาน
(4D) และอีกมากมาย ด้วย SOFTWAREที่เรียนรู้แค่ 15 วัน
เท่านั้น
“ BUILDING INFORMATION MODELING (BIM) ทางออกของ AEC”
บทที่ 3
ภาพ 2 มิติ คือผลจาก 3 มิติ นี้คือแนวคิด เขียน MODLE 3 มิติครั้งเดียวก็ได้
แบบ 2 มิติทุกด้าน ประหยัดเวลา ประหยัดทุกอย่าง นี้คือหลักการเขียนแบบ
สมัยใหม่
แบบ 2 D สามารถสร้างได้โดยอัตโนมัตติจากแบบ 3 D การแก้แบบ 3D แบบ 2
D ก็แก้ด้วยทันที …….สิ่งนี้ทาได้แล้ว แล้วแบบ 2 D จะไปเขียนเองทาไมหละ
ครับ
เดี๋ยวก่อน ถ้าเราเติมข้อมูลวิศวกรรมไว้ในวัสดุแต่ละชิ้นหละ ไช่แล้วเรากาลัง
ทา 3 D MODLE ที่มีข้อมูลครบเลยหละ……ทั้งประมาณงาน แผนงาน
แผนการเงิน แผนต่างๆ สามารถทานายตั้งแต่แรกเลย ดีจริงๆ
ทุกๆ คนภายในโครงการมีส่วนร่วมกันในการออกแบบและแลกเปลี่ยนแนวคิด
และข้อมูล ในที่สุดเราจะได้งานวิศวกรรมที่ตรงใจทั้งผู้ออกแบบ และผู้สร้าง
ไม่ต้องพูดถึง OWNER ดีใจที่สุด
เมื่อเราเอางานแต่ละชิ้นใน 3 D มาเรียงตามวันที่เราคิดไว้นั้นไงเจอแล้วๆ
แผนการทางานแบบ 3 D และวัสดุและงานทั้งหมดเป็ยกราฟ และภาพทานาย
ล่วงหน้า…..นี้ไงหนทางที่จะทานายอนาคตก่อนจะสร้างด้วยซ้า ปัญหาก็
น้อยลงแล้วหละสิ+
นี้แหละแนวคิดและหลักการ BIM ลดทั้งเวลา และเงิน โดยใช้เทคโนโลยีและ
การแลกเปลี่ยนข่าวสาร
วัȨȨ่งมัȨะมาแทนการทางานทั้งหมึϾองวิศวกรรมในปัจจุบัน
ข้อมูลอัดแน่น และแม่นยา
แบบก่อสร้างทั้งหมดบน MODEL จาลอง…แก้ตรงนี้ไม่เสียเงิน แต่ถ้าไปสร้าง
จริงแล้วแก้หน้างาน เสียทั้งเงินและเวลา
เมื่อ CLOUD COMPUTING และระบบ WIRELESS คืออนาคต BIM ก็มี
อนาคตสดใส…..ผมคงไม่ต้องไปไกลตั้ง 500 กิโลเมตร เพื่อคุยแบบเล็กน้อยอีก
แล้ว
บน BIM และ 3D MODEL รถติดก็ไม่ไช่ปัญหา
ที่หน้างาน ก็สื่อสารและวางแผนง่าย
BIM จะคืออนาคตของงานวิศวกรรมพร้อมการก้าวไปของเทคโนโลยี
ในที่สุดงานวิศวกรรมจะกลายเป็น 3D ใน 3D
“BIM กับปัญหาในปัจจุบัน”
บทที่ 4
BIM คือทางออกทางเดียวจริงหรือ?
ชั่วโมงนี้คงจะไม่มีคนค้านแล้วหละว่า BIM
ดีที่สุด แต่ในความดีก็ต้องมีความไม่ดีบ้าง
ไช่ไหมครับ
จากงานวิจัยพบว่า BIM ทางานบนหลาย Platform ไม่สามารถมาเชื่อมกันได้
ดังนั้นจึงเกิด OPEN BIM ขึ้นเพื่อทาให้ Software แต่ละตัวทางานร่วมกันได้ดี
แก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้
มีหลายค่ายเข้าร่วมดูเหมือนว่าใหญ่ๆ คือ Achicad และ TEKLA แต่
เอ๋….Autodesk ไหงไม่เข้าร่วมนะ แล้ว REVIT จะไม่จอยใครเลยเหรอ?
BIM ดีครับแต่ใครช่วยตอบคำถำมผมหน่อย?
BIM ใช้ง่าย ?
ลองดูภาพด้านล่างสิครับ ใครจะทาเป็น ผู้รับเหมาขนาดไหนกันจะสามารถทา
แบบนี้ได้……???
BIM สามารถทาเอกสารได้AUTO จริงเหรอ?????
ประสบการณ์ผม หน้างานยุ่งยากมาก เปลี่ยนแปลงบ่อย ผู้คนมากมาย ต่างจิตใจ
โดยระบบของไทยๆ แล้วเราจะจัดการสิ่งเหล่านี้บน BIM ได้เหรอ???
เปลี่ยนมาใช้การทางานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING กันดีกว่า
BIM ใช้เวลาเรียนรู้นานมาก อีกทั้งการ
ทางานจริงๆ ในงานรับเหมาขนาดกลาง
และเล็ก มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยยากที่จะทา
แบบและการวางแผนงานแบบอัตโนมัติได้
…….จากข้อจากัดด้านนี้ แนวคิดการทางาน
แบบ 3D CONSTRUCTION MODEL จึง
เกิดขึ้น เรามาดูมาคืออะไรกันเถอะ
3D CONSTRUCTION MODELING
Piece-based process model
3D CONSTRUCTION MODELING
Piece-based process model
Piece-based Assembly
SketchUp’s Components or Groups
Piece-based process model
Piece-based process model
These models are a powerful way to deliver and understand
construction information because they clearly convey the details
of a structure and the actions necessary for its assembly.
Back to Simple “3D for everybody”
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
GOOGLE/TRIMBLE
SKETCHUP
“3D MODELER FOR շ۰”
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
The Place Steel for Modeling module in Turner's proprietary Sketchup
plugin
The Count Steel for Estimating module of theTurner plugin
Turner Safety Manager Training in SketchUp
Safety Example Model: Excavation Logistics
McCarthy Building Companies Inc
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
Mortenson Construction improves
the project experience while reducing
cost with SketchUp
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
JE Dunn Construction
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
PREMIER ENERGY CO.,LTD (THAILAND)
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM
กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM

More Related Content

กระบวนการทำงานแบบ 3D CONSTRUCTION MODELING VS BIM