ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรี ยน
         วิชา วงจรไฟฟ้ า 1 (2104-2102)
                   หน่วยที่ 4
      เรื่ อง วงจรแบ่งแรงดัน และวงจรแบ่งกระแส




             นายพรศักดิ์ ทองมา
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ ากําลัง วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง
   สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
            กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยที่ 4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

จุดประสงค์ทวไป
           ่ั
     เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
     1. บอกลักษณะของวงจรแบ่งแรงดันได้
     2. คํานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมความต้านทานได้
     3. คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทานที่เป็ นโหลดได้
     4. บอกลักษณะการต่อวงจรแบ่งกระแสได้
     5. คํานวณหาค่ากระแสที่ไหลในแต่ละสาขาได้
จากในหน่ วยการเรี ยนที่ผ่านมาจะเป็ นการต่อความต้านทานในลักษณะต่างๆ คือการต่อความ
ต้านทานในลักษณะของวงจรอนุกรม วงจรขนานและวงจรผสม ในหน่วยการเรี ยนนี้ เป็ นการนําทฤษฎีที่
                                     ่
มีการนําความต้านทานมาต่อในวงจรที่ผานมาประยุกต์ใช้งานเป็ นวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

4.1 วงจรแบ่งแหล่งดัน (Voltage Divider)
         มี ง านหลายงานที่ เ ราใช้แ บตเตอรี่ เ ป็ นแหล่ งจ่ ายกําลัง ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ บรรจุ ด้ว ยสารเคมี ที่
เปลี่ยนเป็ นกระแสไฟฟ้ าเมื่อเราต้องการ ด้วยแบตเตอรี่ บรรจุดวยพลังงานศักย์ เมื่อพลังงานถูกปล่อยเข้าสู่
                                                                ้
วงจรไฟฟ้ า จะไหลผ่านเหมือนกับนํ้าไหลผ่านท่อ เมื่อเรานําสายวัดของโวลต์มิเตอร์ มาต่อเพื่อวัดความ
แตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าในส่ วนต่างๆ ของวงจรดังรู ป 4.1


                                                      R           V
                                                          1           1
                                      E
                                                      R           V
                                                          2           2



                                  รู ป 4.1 ลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน

       จากรู ป 4.1 จะแสดงลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน ที่มีการต่อของตัวต้านทานในลักษณะของ
วงจรอนุกรม โดยเราจะใช้ความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าที่แตกต่างกันในวงจร แรงดันไฟฟ้ านี้สามารถ
กําหนดให้มีค่าคงที่หรื อสามารถปรับค่าได้ จากรู ป 4.1 เราสามารถเขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้คือ
                                               R1
                                  V1 =                .E                                  (4.1)
                                           R1 + R 2
                                               R2
และ                               V2 =                .E                                  (4.2)
                                            R1 + R 2

          ในรู ป 4.2 จะเป็ นวงจรที่ เ ราใช้อ ้า งอิ ง ในลัก ษณะของวงจรแบ่ ง แรงดัน ดัง นั้น ในวงจรจะ
ประกอบด้วย ลักษณะของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ าไฟฟ้ าต่ออนุกรมกัน แรงดันไฟฟ้ าที่นามาใช้จะเกิดจาก
                                                                                     ํ
การต่อระหว่างอุปกรณ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่วงจรแบ่งแรงดันจะประกอบด้วย ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรม
กันดังรู ป 4.2
รู ป 4.2

                                           R2
เมื่อ                          Vout =             . Vin                             (4.3)
                                         R1 + R 2

ตัวอย่ าง 4.1 จากวงจร 4.3 จงหาค่าของ V
                                             4



                  50 V                                          6        V



                                           รู ป 4.3

วิธีทา จากวงจรเราสมมติให้ R1 = 4 Ω และ R2 = 6 Ω
     ํ
       จากความสัมพันธ์ของสมการ 4.3 จะได้
                                         R2
                            Vout =             . Vin
                                      R1 + R 2
                                          6
                                   =            ( 50 )
                                         4+6
                                   = 30 V

ตัวอย่ าง 4.2   ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรมกันแล้วต่อกับแหล่งจ่ายแรงดัน 24 V และ
                กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจร 3 A ถ้านความต้านทานตัวหนึ่งมีค่า 2 Ω จงหา (ก) ค่าของ
                ความต้านทานตัวอื่น และ (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω ถ้าวงจรนี้ต่อใช้งาน
นาน 50 ชัวโมง จะใช้พลังงานไฟฟ้ าเท่าไร
                      ่
                                R 1= 2                Rx

                                   V
                                     1
                                I= 3 A

                                             E
                                         รู ป 4.4

วิธีทา (ก) ความต้านทานรวมของวงจร
     ํ
                                         E
                               R =
                                          I
                                          24
                                       =
                                            3
                                       = 8 Ω
      ดังนั้น ค่าความต้านทานไม่ทราบค่า Rx = 8 – 2 = 6 Ω
      (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω คือ
                                V1 = IR1
                                       = 32
                                       = 6 V
      หรื ออีกแนวทางหนึ่งคือ
                                             R1
                                V1 =               .E
                                         R1 + R 2
                                             2
                                       =        (24)
                                          2+6
                                       = 6 V
                         พลังงานที่ใช้ = กําลัง  เวลา
                                       = VIt
                                       = 24V  3A  50h
                                       = 3600 Wh
                                       = 3.6 kWh
ตัวอย่ าง 4.3   จากรู ป 4.5 จงหาค่า IT, I1, IL และ VL




                                              รู ป 4.5

วิธีทา
     ํ                            RT1 = R2 // RL
                                         R .R
                                      = 2 L
                                         R2 + RL
                                        10 × 15
                                      =
                                        10 + 15
                                      = 6 
                                  RT = RT1 + R1
                                      = 6 + 20
                                      = 26 
                                         E
                                   IT =
                                        RT
                                         24
                                      =
                                         26
                                      = 0.923 A
                                           R
                                  VL = E . T1
                                            RT
                                              6
                                      = 24 .
                                              26
                                      = 5.538 V
                                        V
                                   IT = L
                                        RL
                                        5.538
                                      =
                                          15
                                      = 0.369 A
4.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า (Current Divider)
          วงจรแบ่งกระแสจะใช้หลักการของวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน เนื่ องจากวงจรขนานมีกระแสไหล
                                                                                   ่ ั
ผ่านความต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากัน กระแสที่แบ่งไหลในแต่ละสาขาจะมีมากหรื อน้อยขึ้นอยูกบขนาด
ของความต้านทานที่ต่ออยูในสาขานั้น และกระแสที่ถูกแบ่งในแต่ละสาขานี้ เมื่อนํามารวมกันแล้วจะมี
                        ่
ค่าเท่ากับกระแสรวมของวงจร




                                          รู ป 4.6

         จากรู ป 4.6 จะหาค่าความต้านทานรวมของวงจร (RT) ได้โดย
                                             R .R
                                  RT = 1 2
                                            R1 + R 2
และ                                E = IT . RT
                                                  R .R
                                         = IT . 1 2
                                                  R1 + R 2
                                             E
                                   I1 =
                                            R1
                                             I R .R
                                         = T. 1 2
                                             R1 R1 + R 2
                                                 R2
                                         =             . IT
                                             R1 + R 2
                                             E
ในทํานองเดียวกัน                   I2 =
                                            R2
                                              I R .R
                                         = T. 1 2
                                             R 2 R1 + R 2
                                                 R1
                                         =             . IT
                                             R1 + R 2
                                               ่
ดังนั้นเราสามารถสรุ ปโดยอ้างอิงจากรู ป 4.6 ได้วา
R2
                                   I1 =            . IT            (4.4)
                                          R1 + R 2
                                            R1
                                   I2   =          . IT            (4.5)
                                          R1 + R 2

ตัวอย่ าง 4.4   สําหรับวงจรอนุกรมขนานดังแสดงในรู ป 4.7 จงหา
                a) กระแสรวมของวงจร
                b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว
                c) แรงดันตกคร่ อมความต้านทานแต่ละตัว

                                             R2 = 6

                        R1 = 2.5                          R4 = 4

                                            R3 = 2




                                             E = 200 V
                                              รู ป 4.7

วิธีทา
     ํ
         a) กําหนดให้         RT1 = R2//R3
                                      R ×R
                                   = 2 3
                                      R2 + R3
                                      6×2
                                   =
                                     6+2
                                     12
                                   =
                                      8
                                   = 1.5 Ω
           ความต้านทานรวมของวงจร
                              RT = R1 + RT1 + R4
= 2.5 + 1.5 + 4
                                = 8 Ω
                                  E
 หา                       IT   =
                                  RT
                                   200
                                =
                                    8
                                = 25 A

b) กระแสไหลผ่าน R1 และ R2 จะมีค่าเท่ากับ IT = 25 A
                                     R3
  หากระแสไหลผ่าน R2          =               . IT
                                  R2 + R3
                                    2
                             =          . 25
                                  6+2
                             = 6.25 A
                                     R2
   กระแสไหลผ่าน R3           =               . IT
                                  R2 + R3
                                    6
                             =          . 25
                                  6+2
                             = 18.75 A

c) วงจรเทียบเคียงสามารถเขียนได้ดงรู ป 4.8
                                ั




                                     รู ป 4.8

จะได้แรงดันตกคร่ อม R1
                         V1 = I.R1
                             = 25  2.5
= 62.5 V
         แรงดันตกคร่ อม RT1 หรื อแรงดันตกคร่ อม R2 มีค่าเท่ากับแรงดันตกคร่ อม R3
                                  V2 = I.RT1
                                        = 25  1.5
                                        = 37.5 V
         แรงดันตกคร่ อม R4
                                  V3 = I.R4
                                        = 25  4
                                        = 100 V

ตัวอย่ าง 4.5   จากวงจรในรู ป 4.9 จงคํานวณหา
                a) ค่าความต้านทาน RX เมื่อค่ากําลังไฟฟ้ ารวมของวงจรมีค่าเท่ากับ 2.5 kW และ
                b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว
                               R 1 = 15                      R3 = 38

                         I1                             I3
                              R 2 = 10                             RX

                        I2                              I4
                                    V                          V
                                        1                          2

                          IT
                                            E = 250 V

                                             รู ป 4.9

วิธีทา a) หาค่าความต้านทาน RX
     ํ
          จากหลักสูตรกําลังไฟฟ้ า P = I.E
       จากโจทย์ P = 2.5 kW = 2,500 W และ E = 250 V
          ดังนั้น               2500 = 250.I
                                        2,500
                                   IT =
                                          250
                                      = 10 A
                                        E
       จากกฎของโอห์ม              RT =
                                         I
250
                                     =
                                          10
                                   = 25 Ω
       เมื่อ RT คือ ความต้านทานรวมของวงจร
       และกําหนดให้ RT1 = R1 // R2
                                       R .R
                            RT1 = 1 2
                                      R1 + R 2
                                        15 × 10
                                   =
                                        15 + 10
                                        150
                                   =
                                          25
                                   = 6 Ω
                             RT2 = R3 // RX
       ดังนั้น               RT2 = RT – RT1
                                   = 25 – 6
                                   = 19 Ω
       ในการหาค่า RX สามารถหาได้ 3 วิธีดงนี้
                                        ั

วิธีที่ 1 หาแรงดันตกคร่ อม V1 จาก
                                V1 = I.RT1
                                      = 10  6
                                      = 60 V
          ดังนั้น                V2 = E – V1
                                      = 250 – 60
                                      = 190 V
          เมื่อ V2 คือแรงดันตกคร่ อม R3 และ RX
                                        V
          หา                     I3 = 2
                                        R3
                                         190
                                      =
                                          38
                                      = 5 A
          ดังนั้น                 I4 = I – I3
                                      = 10 – 5
= 5 A
                                        V
                                RX   = 2
                                        I4
                                        190
                                      =
                                          5
                                      = 38 Ω

วิธีที่ 2 จากค่าความต้านทาน RT2 = 19 Ω
          เมื่อ RT2 คือ R3 // RX จะได้
                                          38 . R X
                                  19 =
                                         38 + R X
          ดังนั้น       19(38 + RX) = 38RX
                        722 + 19RX = 38RX
                                722 = 38RX – 19RX
                                722 = 19.RX
                                         722
          ดังนั้น                 RX =
                                          19
                                       = 38 Ω

วิธีที่ 3 จากการที่ค่าความต้านทานสองตัวที่มีคาความต้านทานเท่ากัน ขนานกัน ค่าของความต้านทาน
                                             ่
                   ่
          รวมจะมีคาลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง
          เมื่อ RT = 19 Ω และ R3 = 38 Ω ดังนั้น RX = 38 Ω

                                            R2
       b) กระแส                  I1 =               .I
                                         R1 + R 2
                                            10
                                     =            . 10
                                          15 + 10
                                          2
                                     =      . 10
                                          5
                                     =   4 A
                                            R1
                                I2 =              .I
                                         R1 + R 2
                                            15
                                     =            . 10
                                          15 + 10
3
=   . 10
  5
= 6 A

More Related Content

หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชา วงจรไฟฟ้ า 1 (2104-2102) หน่วยที่ 4 เรื่ อง วงจรแบ่งแรงดัน และวงจรแบ่งกระแส นายพรศักดิ์ ทองมา แผนกวิชาช่างไฟฟ้ ากําลัง วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. หน่วยที่ 4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส จุดประสงค์ทวไป ่ั เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกลักษณะของวงจรแบ่งแรงดันได้ 2. คํานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมความต้านทานได้ 3. คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทานที่เป็ นโหลดได้ 4. บอกลักษณะการต่อวงจรแบ่งกระแสได้ 5. คํานวณหาค่ากระแสที่ไหลในแต่ละสาขาได้
  • 3. จากในหน่ วยการเรี ยนที่ผ่านมาจะเป็ นการต่อความต้านทานในลักษณะต่างๆ คือการต่อความ ต้านทานในลักษณะของวงจรอนุกรม วงจรขนานและวงจรผสม ในหน่วยการเรี ยนนี้ เป็ นการนําทฤษฎีที่ ่ มีการนําความต้านทานมาต่อในวงจรที่ผานมาประยุกต์ใช้งานเป็ นวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส 4.1 วงจรแบ่งแหล่งดัน (Voltage Divider) มี ง านหลายงานที่ เ ราใช้แ บตเตอรี่ เ ป็ นแหล่ งจ่ ายกําลัง ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ บรรจุ ด้ว ยสารเคมี ที่ เปลี่ยนเป็ นกระแสไฟฟ้ าเมื่อเราต้องการ ด้วยแบตเตอรี่ บรรจุดวยพลังงานศักย์ เมื่อพลังงานถูกปล่อยเข้าสู่ ้ วงจรไฟฟ้ า จะไหลผ่านเหมือนกับนํ้าไหลผ่านท่อ เมื่อเรานําสายวัดของโวลต์มิเตอร์ มาต่อเพื่อวัดความ แตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าในส่ วนต่างๆ ของวงจรดังรู ป 4.1 R V 1 1 E R V 2 2 รู ป 4.1 ลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน จากรู ป 4.1 จะแสดงลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน ที่มีการต่อของตัวต้านทานในลักษณะของ วงจรอนุกรม โดยเราจะใช้ความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าที่แตกต่างกันในวงจร แรงดันไฟฟ้ านี้สามารถ กําหนดให้มีค่าคงที่หรื อสามารถปรับค่าได้ จากรู ป 4.1 เราสามารถเขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้คือ R1 V1 = .E (4.1) R1 + R 2 R2 และ V2 = .E (4.2) R1 + R 2 ในรู ป 4.2 จะเป็ นวงจรที่ เ ราใช้อ ้า งอิ ง ในลัก ษณะของวงจรแบ่ ง แรงดัน ดัง นั้น ในวงจรจะ ประกอบด้วย ลักษณะของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ าไฟฟ้ าต่ออนุกรมกัน แรงดันไฟฟ้ าที่นามาใช้จะเกิดจาก ํ การต่อระหว่างอุปกรณ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่วงจรแบ่งแรงดันจะประกอบด้วย ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรม กันดังรู ป 4.2
  • 4. รู ป 4.2 R2 เมื่อ Vout = . Vin (4.3) R1 + R 2 ตัวอย่ าง 4.1 จากวงจร 4.3 จงหาค่าของ V 4 50 V 6 V รู ป 4.3 วิธีทา จากวงจรเราสมมติให้ R1 = 4 Ω และ R2 = 6 Ω ํ จากความสัมพันธ์ของสมการ 4.3 จะได้ R2 Vout = . Vin R1 + R 2 6 = ( 50 ) 4+6 = 30 V ตัวอย่ าง 4.2 ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรมกันแล้วต่อกับแหล่งจ่ายแรงดัน 24 V และ กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจร 3 A ถ้านความต้านทานตัวหนึ่งมีค่า 2 Ω จงหา (ก) ค่าของ ความต้านทานตัวอื่น และ (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω ถ้าวงจรนี้ต่อใช้งาน
  • 5. นาน 50 ชัวโมง จะใช้พลังงานไฟฟ้ าเท่าไร ่ R 1= 2 Rx V 1 I= 3 A E รู ป 4.4 วิธีทา (ก) ความต้านทานรวมของวงจร ํ E R = I 24 = 3 = 8 Ω ดังนั้น ค่าความต้านทานไม่ทราบค่า Rx = 8 – 2 = 6 Ω (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω คือ V1 = IR1 = 32 = 6 V หรื ออีกแนวทางหนึ่งคือ R1 V1 = .E R1 + R 2 2 = (24) 2+6 = 6 V พลังงานที่ใช้ = กําลัง  เวลา = VIt = 24V  3A  50h = 3600 Wh = 3.6 kWh
  • 6. ตัวอย่ าง 4.3 จากรู ป 4.5 จงหาค่า IT, I1, IL และ VL รู ป 4.5 วิธีทา ํ RT1 = R2 // RL R .R = 2 L R2 + RL 10 × 15 = 10 + 15 = 6  RT = RT1 + R1 = 6 + 20 = 26  E IT = RT 24 = 26 = 0.923 A R VL = E . T1 RT 6 = 24 . 26 = 5.538 V V IT = L RL 5.538 = 15 = 0.369 A
  • 7. 4.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า (Current Divider) วงจรแบ่งกระแสจะใช้หลักการของวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน เนื่ องจากวงจรขนานมีกระแสไหล ่ ั ผ่านความต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากัน กระแสที่แบ่งไหลในแต่ละสาขาจะมีมากหรื อน้อยขึ้นอยูกบขนาด ของความต้านทานที่ต่ออยูในสาขานั้น และกระแสที่ถูกแบ่งในแต่ละสาขานี้ เมื่อนํามารวมกันแล้วจะมี ่ ค่าเท่ากับกระแสรวมของวงจร รู ป 4.6 จากรู ป 4.6 จะหาค่าความต้านทานรวมของวงจร (RT) ได้โดย R .R RT = 1 2 R1 + R 2 และ E = IT . RT R .R = IT . 1 2 R1 + R 2 E I1 = R1 I R .R = T. 1 2 R1 R1 + R 2 R2 = . IT R1 + R 2 E ในทํานองเดียวกัน I2 = R2 I R .R = T. 1 2 R 2 R1 + R 2 R1 = . IT R1 + R 2 ่ ดังนั้นเราสามารถสรุ ปโดยอ้างอิงจากรู ป 4.6 ได้วา
  • 8. R2 I1 = . IT (4.4) R1 + R 2 R1 I2 = . IT (4.5) R1 + R 2 ตัวอย่ าง 4.4 สําหรับวงจรอนุกรมขนานดังแสดงในรู ป 4.7 จงหา a) กระแสรวมของวงจร b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว c) แรงดันตกคร่ อมความต้านทานแต่ละตัว R2 = 6 R1 = 2.5 R4 = 4 R3 = 2 E = 200 V รู ป 4.7 วิธีทา ํ a) กําหนดให้ RT1 = R2//R3 R ×R = 2 3 R2 + R3 6×2 = 6+2 12 = 8 = 1.5 Ω ความต้านทานรวมของวงจร RT = R1 + RT1 + R4
  • 9. = 2.5 + 1.5 + 4 = 8 Ω E หา IT = RT 200 = 8 = 25 A b) กระแสไหลผ่าน R1 และ R2 จะมีค่าเท่ากับ IT = 25 A R3 หากระแสไหลผ่าน R2 = . IT R2 + R3 2 = . 25 6+2 = 6.25 A R2 กระแสไหลผ่าน R3 = . IT R2 + R3 6 = . 25 6+2 = 18.75 A c) วงจรเทียบเคียงสามารถเขียนได้ดงรู ป 4.8 ั รู ป 4.8 จะได้แรงดันตกคร่ อม R1 V1 = I.R1 = 25  2.5
  • 10. = 62.5 V แรงดันตกคร่ อม RT1 หรื อแรงดันตกคร่ อม R2 มีค่าเท่ากับแรงดันตกคร่ อม R3 V2 = I.RT1 = 25  1.5 = 37.5 V แรงดันตกคร่ อม R4 V3 = I.R4 = 25  4 = 100 V ตัวอย่ าง 4.5 จากวงจรในรู ป 4.9 จงคํานวณหา a) ค่าความต้านทาน RX เมื่อค่ากําลังไฟฟ้ ารวมของวงจรมีค่าเท่ากับ 2.5 kW และ b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว R 1 = 15 R3 = 38 I1 I3 R 2 = 10 RX I2 I4 V V 1 2 IT E = 250 V รู ป 4.9 วิธีทา a) หาค่าความต้านทาน RX ํ จากหลักสูตรกําลังไฟฟ้ า P = I.E จากโจทย์ P = 2.5 kW = 2,500 W และ E = 250 V ดังนั้น 2500 = 250.I 2,500 IT = 250 = 10 A E จากกฎของโอห์ม RT = I
  • 11. 250 = 10 = 25 Ω เมื่อ RT คือ ความต้านทานรวมของวงจร และกําหนดให้ RT1 = R1 // R2 R .R RT1 = 1 2 R1 + R 2 15 × 10 = 15 + 10 150 = 25 = 6 Ω RT2 = R3 // RX ดังนั้น RT2 = RT – RT1 = 25 – 6 = 19 Ω ในการหาค่า RX สามารถหาได้ 3 วิธีดงนี้ ั วิธีที่ 1 หาแรงดันตกคร่ อม V1 จาก V1 = I.RT1 = 10  6 = 60 V ดังนั้น V2 = E – V1 = 250 – 60 = 190 V เมื่อ V2 คือแรงดันตกคร่ อม R3 และ RX V หา I3 = 2 R3 190 = 38 = 5 A ดังนั้น I4 = I – I3 = 10 – 5
  • 12. = 5 A V RX = 2 I4 190 = 5 = 38 Ω วิธีที่ 2 จากค่าความต้านทาน RT2 = 19 Ω เมื่อ RT2 คือ R3 // RX จะได้ 38 . R X 19 = 38 + R X ดังนั้น 19(38 + RX) = 38RX 722 + 19RX = 38RX 722 = 38RX – 19RX 722 = 19.RX 722 ดังนั้น RX = 19 = 38 Ω วิธีที่ 3 จากการที่ค่าความต้านทานสองตัวที่มีคาความต้านทานเท่ากัน ขนานกัน ค่าของความต้านทาน ่ ่ รวมจะมีคาลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง เมื่อ RT = 19 Ω และ R3 = 38 Ω ดังนั้น RX = 38 Ω R2 b) กระแส I1 = .I R1 + R 2 10 = . 10 15 + 10 2 = . 10 5 = 4 A R1 I2 = .I R1 + R 2 15 = . 10 15 + 10
  • 13. 3 = . 10 5 = 6 A