ݺߣ
Submit Search
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
•
1 like
•
8,179 views
พรทิพย์ ทองไพบูลย์
Follow
1 of 7
Download now
Downloaded 28 times
More Related Content
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
1.
แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมปีที่ 6
รายวิชา ค 16101 เรื่อง จานวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร เวลา 15 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การหาค่าประมาณใกล้เคียง วันที่ ……… เดือน …………………………………………พ.ศ…………….. เวลา 1 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ตัวชี้วัดชั้นปี ค 1.3 ป.6/1 บอกค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ เต็มร้อย และเต็มพันของจานวนนับ และ นาไปใช้ได้ ค 1.3 ป.6/2 บอกค่าประมาณของทศนิยมไม่เกินสามตาแหน่ง สาระสาคัญ การนาไปใช้ บางครั้งอาจใช้ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มหลักต่างๆได้ สาระการเรียนรู้ ความรู้ หาประมาณใกล้เคียงจานวนเต็ม ทักษะกระบวนการ เมื่อกาหนดจานวนนับให้ สามารถหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มหลักต่างๆได้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวินัยในตนเอง 2.มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทางาน
2.
การประเมินผลรวบยอด การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ภาระงาน/ชิ้นงาน วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด
เกณฑ์การประเมิน ภาระงาน -การหาประมาณใกล้เคียง จานวนเต็ม - การตั้งคาถามและตอบจาก บทเรียน - การวาดภาพในบทเรียน - การสนทนาซักถาม -กระบวนการกลุ่ม -การนาเสนอผลงาน -การทาใบงาน -การทาแบบทดสอบ ชิ้นงาน -แบบฝึก - ใบงาน - โครงงานคณิตศาสตร์ - สังเกตพฤติกรรม การเรียน - สังเกตพฤติกรรม กระบวนการกลุ่ม - สังเกตการนาเสนอ ผลงาน - ตรวจแบบทดสอบ - ตรวจใบงาน -ตรวจแบบฝึกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรม การเรียน - แบบสังเกตพฤติกรรม กระบวนการกลุ่ม - แบบสังเกตการนาเสนอ ผลงาน - ตรวจผลงาน - ตรวจใบงาน -ตรวจแบบฝึกหัด - ตรวจแบบทดสอบ ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) = 7 – 10 คะแนน 3 (ดี) = 5 – 6 คะแนน 2 (พอใช้) = 3 – 4 คะแนน 1 (ปรับปรุง) = 1 – 4 คะแนน
3.
การประเมินผล ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม (4) ดี
(3) พอใช้ (2) ต้องปรับปรุง (1) 1 มีความสนใจ ในเรื่องที่เรียน 1 ตั้งใจเรียน มีความ กระตือรือร้นใน การ เรียน 2 ทางานที่ได้รับ มอบหมายเป็น อย่างดี 3 สนใจซักถามปัญหา ข้อสงสัย 1 ตั้งใจเรียน มีความ กระตือรือร้นใน การ เรียน 2 ทางานที่ได้รับมอบ หมายเป็นอย่างดี 3 ไม่สนใจซักถาม ปัญหาข้อสงสัย 1 ตั้งใจเรียน มี ความกระตือรือร้น บ้าง 2 ทางานที่ได้รับ มอบหมายเป็น ส่วนใหญ่ 3 ไม่สนใจซักถาม ปัญหาข้อสงสัย 1 ไม่ตั้งใจเรียนและ ขาดความ กระตือรือร้น 2 ไม่ค่อยรับผิดชอบ งานที่ได้รับ มอบหมาย 3 ไม่สนใจซักถาม ปัญหาข้อสงสัย 2 ชิ้นงาน/ คุณภาพชิ้นงาน 1 คิดคานวณหรือเสนอ รูปแบบวิธีการหา คาตอบได้อย่างถูกต้อง แม่นยา 2 แสดงวิธีการ หรือ การหาเหตุผล สนับสนุนการหา คาตอบได้ครบถ้วน สมบูรณ์ 1 คานวณหรือวิธีการ หาคาตอบถูกต้อง 2 แสดงวิธีการหรือหา เหตุผล สนับสนุนการ หาคาตอบได้บางส่วน 1 การคานวณมี ข้อผิดพลาด บางส่วน 2 แสดงเหตุผล สนับสนุนการหา คาตอบเล็กน้อย ไม่มีชิ้นงาน 3 มีองค์ประกอบของ ชิ้นงานครบถ้วน 3 รายการ (รูปแบบ รายงาน ความถูกต้อง ชัดเจนใน การเขียนหรือพิมพ์ การจัดรูปเล่ม) 3 เชื่อมโยงไปสู่ หลักการของปัญหาได้ บางส่วน 4 มีองค์ประกอบของ ชิ้นงานไม่น้อยกว่า 2 รายการ 3 แสดงการ เชื่อมโยงหลักการ การแก้ปัญหาได้ เล็กน้อย 4 มีองค์ประกอบ ของชิ้นงานไม่ น้อยกว่า 2 รายการ 3 มีทักษะ ความ คิดริเริ่ม สร้างสรรค์ มีแนวคิด / วิธีการ แปลกใหม่ที่สามารถ นาไปปฏิบัติได้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีแนวคิด /วิธีการแปลก ใหม่ที่สามารถนาไป ปฏิบัติได้ถูกต้องแต่ นาไปปฏิบัติแล้วไม่ ถูกต้อง สมบูรณ์ มีแนวคิด /วิธีการ ไม่แปลกใหม่แต่ นาไป ปฏิบัติได้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีแนวคิด/วิธีการไม่ แปลกใหม่และนาไป ปฏิบัติแล้วยังไม่ สมบูรณ์
4.
ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม(4) ดี (3)
พอใช้ (2) ต้องปรับปรุง(1) 4 ลักษณะที่พึง ประสงค์แบบ องค์รวม สามารถปฏิบัติได้ ด้วยตนเองหรือเป็น แบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ ในการปฏิบัติงาน ทางคณิตศาสตร์ อย่างมีระบบมี ระเบียบวินัย มีความ รอบคอบมีความ รับผิดชอบ มี วิจารณญาณมีความ เชื่อมั่นในตนเอง สามารถปฏิบัติตน ตาม คาแนะนาหรือชี้แนะ ในการปฏิบัติงานทาง คณิตศาสตร์อย่างมี ระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มี วิจารณญาณ มีความ เชื่อมั่นในตนเอง สามารถปฏิบัติตน ตามคาแนะนาหรือ ชี้แนะด้วยตนเอง แต้องมีการกากับ อยู่ติดตามอยู่เสมอ ในการปฏิบัติงาน ทางคณิตศาสตร์ อย่างมีระบบมี ระเบียบวินัย มี ความรอบคอบมี ความรับผิดชอบ วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นใน ตนเอง ไม่มีความสามารถ ปฏิบัติตนตาม คาแนะนาหรือชี้แนะ ด้วยตนเองแต่ต้องมี การกากับและติดตาม อยู่เสมอใน การปฏิบัติงานทาง คณิตศาสตร์อย่างมี ระบบ ขาดระเบียบ วินัย ขาดความ รอบคอบ ความ รับผิดชอบมีน้อยไม่มี วิจารณญาณที่ เหมาะสมไม่มี ความเชื่อมั่นในตนเอง กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนทาแบบฝึกคิดเลขเร็ว 2. สนทนาซักถามเกี่ยวกับความสาคัญของการหาค่าประมาณใกล้เคียงในชีวิตประจาวัน แล้วให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและยกตัวอย่างการบอกปริมาณที่สามารถบอกโดยการประมาณค่าได้และ การบอกปริมาณบางอย่างที่ต้องบ่งถึงจานวนที่แน่นอน เช่น การบอกปริมาณที่สามารถบอกโดยการประมาณค่าได้ เช่น มะม่วง 1 กิโลกรัม มีประมาณ10 ผล นักเรียนชั้น ป.3 สูงประมาณ 120 เซนติเมตร พัดลมตั้งโต๊ะขนาด16 นิ้ว ราคาประมาณ1,350 บาท
5.
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า รับนักเรียนเข้าเรียนชั้น ม.1
ได้ประมาณ 100 คน การบอกปริมาณบางอย่างที่ต้องบ่งถึงจานวนที่แน่นอน เช่น รับประทานยาน้าก่อนอาหารครั้งละ1 ช้อนโต๊ะ รถเมล์สาย 57 บรรทุกคนได้70 คน กาหนดสอบเข้าเรียนต่อชั้น ม.1 วันที่ 1 เมษายน 3. นาบัตรเส้นจานวน ซึ่งมีจานวนตั้งแต่ 50-60 ติดบนกระดานแม่เหล็ก แล้วให้นักเรียน อภิปรายซักถามว่าจานวนระหว่าง 50-60 มีจานวนอะไรบ้างที่มีค่าประมาณใกล้เคียง 50 (51 52 53 54) มีจานวนอะไรบ้างที่มีค่าประมาณใกล้เคียง 60 (55 56 57 58 59) นักเรียนอาจบอกว่า55 อยู่กึ่งกลางระหว่าง 50 และ 60 พอดี แนะนานักเรียนว่าในกรณีนี้ให้ถือเป็นข้อตกลงว่า ค่าประมาณใกล้เคียงของจานวนนั้นให้ประมาณเป็นจานวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 4. นาบัตรการหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน ให้นักเรียนช่วย กันพิจารณาทีละบัตร ดังนี้ 4.1 การหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบของ313 และ 315 โดยให้ตอบคาถาม ต่อไปนี้ 313 อยู่ระหว่างจานวนเต็มสิบใด (310 กับ 320) 313 อยู่ใกล้จานวนเต็มสิบใดมากกว่า (310) ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบของ313 คือจานวนใด (310) เพราะเหตุใด (อยู่ใกล้ 310) 315 อยู่ระหว่างจานวนเต็มสิบใดมากกว่า (อยู่กึ่งกลางพอดี) ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบของ315 คือจานวนใด (นักเรียนอาจตอบ310 หรือ 320) แนะนานักเรียนว่าจานวนใดที่อยู่กึ่งกลางพอดี ถือเป็นข้อตกลงว่าให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มที่ มากกว่า ดังนั้น ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบของ 315 คือ 320 4.2 การหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 1,430 และ 1,450 โดยให้นักเรียน ตอบคาถามดังต่อไปนี้ 1,430 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อยใด (1,400 และ 1,500) 1,430 อยู่ใกล้จานวนเต็มร้อยใดมากกว่า (1,400) ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 1,430 คือจานวนใด (1,400) เพราะเหตุใด (อยู่ใกล้จานวน 1,400 มากกว่า) 1,450 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อยใด (1,400 และ 1,500) 1,450 อยู่ใกล้จานวนเต็มร้อยใดมากกว่า (อยู่กึ่งกลางพอดี) 4.3 การหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 12,420 และ 12,500 โดยให้ นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
6.
12,420 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพันใด (12,000
และ 13,000) 12,420 อยู่ใกล้จานวนเต็มพันใดมากที่สุด (12,000) ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 12,420 คือจานวนใด (12,000) เพราะเหตุใด (อยู่ใกล้จานวน 12,000 มากกว่า) 12,500 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพันใด (12,000และ 13,000) 12,500 อยู่ใกล้จานวนเต็มพันใดมากที่สุด (อยู่กึ่งกลางพอดี) ค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 12,500 คือจานวนใด (13,000) เพราะเหตุใด (จานวนใดที่มีอยู่กึ่งกลางพอดี ถือเป็นข้อตกลงว่าให้ประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มที่มากกว่า) 5. แจกบัตรจานวนเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน เต็มหมื่น เต็มแสน และเต็มล้าน ให้คนละ 1 บัตร ให้ทุกคนพิจารณาบัตรของตนเองว่าได้จานวนเต็มอะไร แล้วให้จับกลุ่มตามจานวนต่างๆ ดังนี้ กลุ่มเต็มสิบ กลุ่มเต็มแสน กลุ่มเต็มร้อย กลุ่มเต็มล้าน กลุ่มเต็มพัน กลุ่มเต็มหมื่น แล้วช่วยกันตรวจสอบว่าใครเข้ากลุ่มไม่ถูกต้อง และช่วยกันแก้ไขข้อบกพร่องจากนั้นช่วยกัน พิจารณาในแต่ละกลุ่มและตอบคาถามต่อไปนี้ จานวนเต็มสิบ มีหลักอะไรเป็น 0 (หลักหน่วย) จานวนเต็มร้อย มีหลักอะไรเป็น 0 (หลักสิบ หลักหน่วย) จานวนเต็มพัน มีหลักอะไรเป็น 0 (หลักร้อย หลับสิบ หลักหน่วย) จานวนเต็มหมื่น มีหลักอะไรเป็น 0 (หลักพัน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย) จานวนเต็มแสน มีหลักอะไรเป็น 0 (หลักหมื่น หลักพัน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย) จานวนเต็มล้าน มีหลักอะไรเป็น 0 (หลักแสน หลักหมื่น หลักพัน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย) 6. แบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม โดยแจกบัตรงานให้กลุ่มละ1 บัตร แล้วให้ช่วยกันปฏิบัติกิจกรรม ตามบัตรงาน แล้วส่งตัวแทนออกไปนาเสนอผลงานของกลุ่ม แล้วช่วยกันพิจารณาตรวจสอบผลงานของแต่ ละกลุ่ม พร้อมทั้งแก้ไขข้อบกพร่อง 7. ช่วยกันสรุปเกี่ยวกับการหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มต่างๆ ซึ่งควรจะสรุปได้ว่า การหาค่าประมาณใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน เต็มหมื่น เต็มแสน เต็มล้าน… ของจานวนใด ทาได้โดยพิจารณาตัวเลขในหลักถัดไปทางขวามือของจานวนนั้น ถ้าต่ากว่า 5 50 500 5,000 50,000 500,000 5,000,000 ขึ้นไป ให้ประมาณเป็น
7.
จานวนเต็มสิบ เต็มร้อย เต็มพัน
เต็มหมื่น เต็มแสน เต็มล้าน… ที่มีค่ามากกว่าจานวนนั้น ตามลาดับ 8. ทาแบบฝึกหัดในหนังสือเรียน สื่อ อุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้ 1. แบบฝึกคิดเลขเร็ว 2. แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน 3. แบบบันทึกคะแนน ความเห็นของผู้บังคับบัญชา ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ) …………………………………………… (…………………….…………...) ผู้อานวยการโรงเรียน………………………..……. บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ 1. ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. 2. ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. 3. แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………. (ลงชื่อ) ……………….…………………….. (…………….…………………..)
Download