ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
- 2. 1. ผังบัญชี (Chart of
Accounts)
“ ”ผังบัญชี
หมายถึง โครงร่างของระบบบัญชีต่าง
ๆ ที่ใช้ในระบบบัญชีของกิจการ โดยการให้
บัญชี เลขที่บัญชี และรหัสบัญชีทั้งหมดที่มี
อยู่ในกิจการ ซึ่งจัดหมวดหมู่อย่างมีระบบ
ผังบัญชี (Chart of Accounts)
ประกอบด้วยเลขที่และชื่อบัญชีแยกประเภท
ทั่วไปที่กิจการกำาหนดขึ้นเพื่อใช้บันทึกบัญชี
ประเภทต่าง ๆ โครงสร้างของผังบัญชีอาจมี
ลักษณะแตกต่างกันไปบ้างในแต่ละกิจการ
- 3. 1. ผังบัญชี (Chart of
Accounts) (ต่อ)
ผังบัญชีมักจะกำาหนดโดยอาศัยแนวทาง
ดังต่อไปนี้
1. กำาหนดเลขที่บัญชัเป็นหมวดหมู่ เพื่อง่าย
ต่อการค้นหาและรวบรวมข้อมูล เช่น
1xxx ใช้สำาหรับกำาหนดบัญชี
สินทรัพย์
2xxx ใช้สำาหรับกำาหนดบัญชีหนี้สิน
5xxx ใช้สำาหรับกำาหนดบัญชีต้นทุน
2. ชื่อบัญชีควรมีความแตกต่างกัน
3. การขอเพิ่มเติมหรือยกเลิกชื่อบัญชี ควร
- 4. 1. ผังบัญชี (Chart of
Accounts) (ต่อ)
ผังบัญชีมักจะกำาหนดโดยอาศัย
แนวทางดังต่อไปนี้ (ต่อ)
4. ผังบัญชีควรที่จะมีการกำาหนดไว้อย่าง
เป็นระบบและเป็นหมวดหมู่อย่างชัดเจน
5. สำาหรับกิจการที่ใช้ในระบบงบประมาณ
รหัสบัญชีอาจนำาไปผูกกับรหัสแผนกหรือศูนย์
ความรับผิดชอบต่าง ๆ ทำาให้การบันทึกบัญชี
ทุกครั้งจะต้องอ้างเลขที่บัญชีและเลขที่แผนก
พร้อมกันเสมอ
- 9. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account)
รหัสบัญชี (Code of Account)
ในแต่ละหมวดบัญชียังสามารถจัด
แบ่งออกเป็นหลายประเภทย่อย ๆ เช่น
สินทรัพย์ แบ่งได้เป็น สินทรัพย์
หมุนเวียน
สินทรัพย์ไม่
หมุนเวียน
สินทรัพย์หมุนเวียน แบ่งได้เป็น
เงินสด ลุกหนี้
- 10. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
รหัสบัญชี (Code of Account)
ควรมีการกำาหนดเลขที่หรือรหัส
แต่ละบัญชีไว้แทนชื่อบัญชี อย่างมีระบบ
และหลักเกณฑ์ เพื่อประโยชน์ในการ
บันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง สะดวก และ
รวดเร็ว
ดังนั้น ชื่อบัญชีที่กิจการใช้จึงควรตั้ง
ให้มีความหมายคล้ายกับรายการที่เกิดขึ้น
- 11. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
วิธีการกำาหนดรหัสบัญชี
กิจการสามารถกำาหนดรหัสบัญชีได้
3 วิธี คือ
1. รหัสตัวเลข (Numerical
Sequence)
1.1 รหัสตัวเลขเป็นตอน (Block
numerical code)
1.2 รหัสตัวเลขเป็นกลุ่ม (Group
numerical code)
2. รหัสอักษร (Alphabetic Sequence)
- 12. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
1. รหัสตัวเลข (Numerical Sequence)
เป็นการกำาหนดที่ง่ายที่สุด คือ เริ่ม
ตั้งแต่เลขที่หนึ่งเรียงสำาดับไปจนถึงเลขที่
ต้องการ เช่น
หมวดสินทรัพย์ ใช้เลข 1 นำาหน้าเลข
ที่บัญชี
หมวดหนี้สิน ใช้เลข 2 นำาหน้าเลขที่
บัญชี
ตัวอย่าง
- 13. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
1.1 รหัสตัวเลขเป็นตอน (Block
numerical code)
เป็นการกำาหนดรหัสบัญชีแต่ละชุดไว้
สำาหรับบัญชีแต่ละประเภท วิธีนี้ไม่ต้องใช้
ตัวเลขหลายหน่วย และมักจะมีการ
กำาหนดรหัสเปล่าไว้ล่วงหน้า เผื่อมีการ
เพิ่มบัญชีประเภทนั้น ๆ ในอนาคต
ตัวอย่าง
รหัส 1 – 50 เป็นบัญชีประเภท
- 14. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
1.2 รหัสตัวเลขเป็นกลุ่ม (Group
numerical code)
มีลักษณะสำาคัญ ดังนี้
1. ตำาแหน่งของแต่ละตัวเลขมีความ
หมาย เช่น ตัวเลขซ้ายสุดแสดงถึงประเภท
ใหญ่ และตัวเลขขวาสุดแสดงถึงประเภท
ย่อย
2. จำานวนของรหัสเป็นกลุ่ม (Group
numerical code) ต้องมีการกำาหนดไว้
- 15. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
1.2 รหัสตัวเลขเป็นกลุ่ม (Group
numerical code)
ตัวอย่าง รหัสบัญชี 4401111
3 ตำาแหน่งแรก 440 เป็นบัญชีรายได้ เช่น
รายได้จากการขาย
2 ตำาแหน่งถัดมา 11 เป็นแผนก เช่น
แผนกขาย
2 ตำาแหน่งถัดมา 11 เป็นบัญชีย่อย
เช่น บัญชีขายรถยนต์
- 16. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
2. รหัสอักษร (Alphabetic Sequence)
เป็นการกำาหนดตัวอักษรเป็นรหัส
บัญชี วิธีนี้จะไม่ค่อยนิยมมากนักเพราะจำา
ยาก
ตัวอย่าง
บัญชีเงินสด รหัสบัญชี คือ ก หรือ กก
หรือ A หรือ AA
บัญชีเจ้าหนี้ รหัสบัญชี คือ ข หรือ L
อักษร A มาจาก Asset หมาย
ถึง สินทรัพย์
- 17. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
3. รหัสตัวเลขและตัวอักษร
(Numerical and Alphabetic
Sequence)
เป็นการใช้ตัวอักษรแสดงประเภท
ของบัญชี และ ตัวเลขแสดงชนิดและชื่อ
บัญชี
ตัวอย่าง
บัญชีเงินสด รหัสบัญชี คือ A
110
- 18. 4.รหัสบัญชี (Code of
Account) (ต่อ)
ลักษณะของรหัสบัญชีที่ดี
รหัสบัญชีที่ดีหรือไม่ได้นั้น อาจจะ
พิจารณาได้ดังนี้
1. รหัสสามารถที่จะจัดลำาดับบัญชีได้
รวดเร็ว และ สะดวก
2. ลดเวลาในการเขียนชื่อบัญชี
3. ช่วยในการจำาแนกประเภทบัญชี
4. สะดวกและง่ายต่อการจำา
5. สามารถเพิ่มและลดประเภทบัญชีตาม
- 28. 3. วิธีการเขียนผังทาง
เดินเอกสาร (ต่อ)
4. ร่างระบบทางเดินเอกสาร โดยเน้น
ถึงเอกสารที่ประกอบกันในระบบ
5. ร่างระบบทั้งหมด โดยรวมความคิด
เห็นและข้อเสนอแนะ
6. ตรวจสอบระบบที่ร่างไว้ด้วย
รายการค้า ประมาณ 1 - 2 รายการ