ݺߣ
Submit Search
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
•
17 likes
•
43,869 views
Puchida Saingchin
Follow
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ม.4
Read less
Read more
1 of 41
Download now
Downloaded 397 times
More Related Content
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
2.
เรื่องที่ 1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร เรื่องที่
2 ชีววิทยาคืออะไร เรื่องที่ 3 ชีววิทยากับการดาเนินชีวิต เรื่องที่ 4 ชีวจริยธรรม
3.
จุดประสงค์การเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อภิปราย
เพื่ออธิบาย ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการรักษาดุลยภาพ ของสิ่งมีชีวิต
4.
สังเกตภาพต่อไปȨ้ว่าป็Ȩาพของอะไร
5.
สังเกตภาพต่อไปȨ้ว่าป็Ȩาพของอะไร แมว จอคอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรูป ตู้เย็น
สุนัข ต้นไม้ สมุด ถ้าจะจาแนกสิ่งต่างๆ นี้เราจะใช้เกณฑ์อะไร
6.
สิ่งมีชีวิต แมว สุนัข ต้นไม้ สิ่งไม่มีชีวิต จอคอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรูป ตู้เย็น สมุด จาแนกสิ่งต่างๆ เหล่านี้โดยใช้เกณฑ์สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
สิ่งมีชีวิตคือ โครงสร้างที่เกิดจากเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ สิ่งที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ เจริญเติบโตได้ กินอาหารได้ ขับถ่ายได้ สืบพันธุ์ได้หายใจได้ และเคลื่อนไหวได้
7.
สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ นักชีววิทยาใช้เกณฑ์อะไรในการจาแนกสิ่งที่พบเห็นว่าเป็นสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และขนาดจากัด สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ สิ่งมีชีวิตมีการจัึϸะบบ
8.
สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ นักเรียนสังเกตภาพต่อไปนี้ แหนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และโดยมีวิธีใด
9.
การสืบพันธุ์ (reproduction)หมายถึง การเพิ่มจานวนลูกหลาน ที่มีลักษณะเหมือนเดิมของสิ่งมีชีวิต
โดยสิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นนี้ จะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ล้มหายตายจากไป ทาให้สิ่งมีชีวิตเหลือ รอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ไป ความหมาย : การสืบพันธุ์ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ(asexual reproduction)
10.
การแตกหน่อ (Budding) การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary
Fission) พาร์ธีโนเจเนซิส (Parthenogenesis) การงอกใหม่ (Regeneration) การสร้างสปอร์ (Spore Formation) การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
11.
การแตกหน่อ (Budding) เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ชั้นต่า
เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะมีการสร้างเนื้อเยื่อข้างลาตัวงอกออกมา แล้วเจริญเติบโตเป็นตัวเล็ก ๆ ที่มีอวัยวะต่าง ๆ เหมือนตัวแม่ ไฮดรา หนอนตัวแบน ฟองน้า ปะการัง และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (พวกโพรติสต์) เช่น ยีสต์ไฮดราฟองน้า ในพืชชั้นสูงก็มีพวก ขิง ข่า กล้วย หน่อไม้
12.
การแบ่งตัวออกเป็นสอง (Binary Fission)
เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (พวกโพรติสต์) ได้แก่ อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา และแบคทีเรีย เกิดขึ้นโดยการแบ่งตัวจาก 1 เซลล์เป็น 2 เซลล์
13.
พาร์ธีโนเจเนซิส (Parthenogenesis) เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของแมลงบางชนิด
เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้เพลี้ย ไรน้า ผึ้ง มด ต่อ แตน
14.
การงอกใหม่ (Regeneration) พบในสัตว์ชั้นต่า
ได้แก่ ปลาดาว พลานาเรีย ไส้เดือนดิน ปลิง โดยสัตว์เหล่านี้ถ้าร่างกายถูกตัดออกเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนจะ สามารถงอกเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ การงอกใหม่นี้จึงทาให้มีจานวนสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นจากจานวนเดิม
15.
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตในแผนภาพนี้ 2. การงอกใหม่ของสัตว์ชนิดใดถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ เพราะเหตุใด 1.
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิต ในภาพก. และข. มีลักษณะ ที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
16.
การสร้างสปอร์ (Spore Formation)
เกิดจากการแบ่งนิวเคลียสหลาย ๆ ครั้ง ต่อจากนั้นไซโทพลาซึม จะแบ่งตาม แล้วจะมีการสร้างเยื่อกั้นเป็นส่วน ๆ แต่ละส่วนจะมี นิวเคลียส 1 อัน เรียกว่า สปอร์ (Spore) พลาสโมเดียม ซึ่งเป็นสัตว์ที่ทาให้เกิดโรคไข้มาลาเรีย
17.
การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) พวกที่มีเซลล์ต่อกันเป็นเส้นสายโดยการหักเป็นท่อนๆ
แต่ละท่อน ที่หลุดไปก็จะแบ่งตัว ได้เซลล์ใหม่ที่ต่อกันเป็นเส้นสายเจริญต่อไป พวกหนอนตัวแบน สาหร่ายทะเล
18.
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย ผสมกันเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตหน่วยใหม่ที่เหมือนพ่อแม่เรียกว่าปฏิสนธิ (fertilization) การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization ) การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization )
19.
การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization
) ตัวอสุจิจากสัตว์เพศผู้เข้าผสมกับไข่ซึ่งยังอยู่ในตัวของสัตว์เพศเมีย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน แมลง ปลาที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาเข็ม ปลาหางนกยูง ปลาฉลาม
20.
การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization
) การผสมระหว่างไข่และตัวอสุจิภายนอกตัวของสัตว์เพศเมีย สัตว์ครึ่งน้าครึ่งบก ปลาต่าง ๆ และสัตว์น้าที่ออกลูกเป็นไข่ทุกชนิด
21.
สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการสารอาหารและพลังงาน เพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ กิจกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตจะต้องประกอบไปด้วยกระบวนการเมแทบอลิซึม (metabolism)
เกิดขึ้นภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต แอแนบอลิซึม (anabolism) แคแทบอลิซึม (catabolism)
22.
แอแนบอลิซึม (anabolism) หรือกระบวนการสร้าง เป็นการเปลี่ยนแปลงของสารที่มีขนาดโมเลกุลเล็กให้เป็นโมเลกุลใหญ่ ทาให้มีพลังงานในโมเลกุลใหญ่
เช่น กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์โปรตีนและกรดอะมิโน แคแทบอลิซึม (catabolism) หรือกระบวนการสลาย เป็น การเปลี่ยนแปลงของสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลเล็ก กระบวนการนี้มักมีพลังงานและความร้อนถูกปลดปล่อยออกมา เช่น การหายใจ การย่อยอาหาร
23.
สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และขนาดจากัด การเจริญเติบโต
(growth) ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเพิ่มโพรโทพลาซึมก็จัดว่าเป็นการเจริญเติบโต เมื่อเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแบ่งเซลล์ในตอนแรกเซลล์ใหม่ที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่าเดิม และก็จะสร้างสารต่างๆเพิ่มมากขึ้น ทาให้เซลล์ใหม่ขยายขนาดขึ้น ซึ่งจัดเป็น การเจริญเติบโตด้วยเช่นกัน
24.
สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัย และขนาดจากัด(ต่อ) อายุขัย
และขนาดจากัด สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีขนาดไม่เท่ากันบางชนิดใหญ่มาก เช่น ช้าง สูงถึง 7 เมตร ขนาดใหญ่ เช่น วัว ควาย ขนาดเล็ก เช่น กุ้ง หอย ปู ขนาดเล็ก เช่น ไรน้า สิ่งมีชีวิตเมื่อเติบโตได้ในระยะหนึ่งก็จะตาย เราจะเรียกว่า อายุขัย โดยแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน
25.
สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า เป็นการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตที่ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและ ทางเคมีที่เกิดขึ้น สิ่งเร้า (stimulation)
อย่างเดียวกัน อาจจะมีการตอบสนอง (response) ไม่เหมือนกันก็ได้ ในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด เช่น แสงเป็นสิ่งเร้าที่พืช เอนเข้าหา ส่วนโพโทซัวหลายชนิดจะเคลี่อนหนี ตัวอย่างการตอบสนอง เช่น พืชตระกูลถั่วจะหุบใบ ในตอนเย็นหรือกลางคืน ซึ่งเรียกว่าต้นไม้นอน เป็นต้น
26.
สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
27.
สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย (ต่อ)
28.
สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ เช่น คนมีลักษณะเฉพาะที่เรียกว่าคน แมว
สนุข หรือแม้แต่ต้นพืชหรือ สาหร่ายขนาดเล็กก็มีลักษณะเฉพาะเช่นกัน
29.
สิ่งมีชีวิตมีการจัึϸะบบ
30.
สิ่งมีชีวิตมีการจัึϸะบบ (ต่อ)
31.
จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายของชีววิทยาได้ ระบุแขนงวิชาต่างๆ
ของวิชาชีววิทยาได้ สามารถสืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบาย ถึงขอบเขตของการศึกษาชีววิทยาได้
32.
ชีววิทยา (Biology) เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ
พ.ศ. 2344 โดยชอง บัปติสต์ เดอ ลามาร์ก นักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส กับ ลูดอฟ คริสแทร์ ทริไกรานัส นักพฤษศาสตร์ชาวเยอรมัน โดยมีรากศัพท์ มาจากภาษากรีก 2 คา คือ Bios หมายถึง ชีวิต และLogos หมายถึง การศึกษา หรือความรู้ ความคิดและเหตุผล
33.
วิชาชีววิทยา (Biology) จึงหมายถึง
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่เป็นความรู้ และส่วนที่เป็นกระบวนการค้นหาความรู้
34.
สาขาวิชาทางชีววิทยา พฤษศาสตร์ (Botany) สัตววิทยา (Zoology) จุลชีววิทยา
(Microbiology) สันฐานวิทยา (Morphology) กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เซลล์วิทยา (Cytology) พืช สัตว์ จุลินทรีย์ รูปร่างลักษณะและโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตโดยการผ่าตัด โครงสร้างและหน้าที่ภายในเซลล์ ชื่อวิชา ความรู้ที่ศึกษาถึงธรรมชาติ
35.
จุดประสงค์การเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อภิปราย
และอธิบายถึง ความสาคัญของชีววิทยากัการดาเนินชีวิต ของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงความสาคัญของชีววิทยาต่อการ ดารงชิของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
36.
การดูแลรักษาสุขภาพของร่างกาย การป้องกันและรักษาโรค
การผลิตอาหาร การอนุรักษสิ่งแวดล้อม การประกอบอาชีพ การเรียนรู้เกี่ยวกับร่างกายคน การรู้จักพฤติกรมของสัตว์ต่างๆ
37.
พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหรือผลผลิตตามความต้องการ นักวิชาการ/นักวจัยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ทาใหเราได้
พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ การศึกษาวัฏจักชีวิตและโครงสร้าง รูปร่าง ลักษณะและพฤติกรรม ศึกษสาเหตุของโรคที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์สมัยใหม่ ความรู้จากการศึกาคุณลักษณะของพืชชนิดต่างๆ การเรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับร่างกายของเรา ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
38.
จุดประสงค์การเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อภิปราย
และยกตัวอย่าง เกี่ยวกับชีวจริยธรรมได้ ตระหนักถึงการนาความรู้ทางชีววิทยาไปใช้ ว่าต้องคานึงถึงจริยธรรมและผลต่อสิ่งแวดล้อม
39.
ชีวจริยธรรม (bioethics) หมายถึงการปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอย่าง มีคุณธรรม
ไม่ทาร้าย หรือทาอันตรายต่อสัตว์หรือมนุษย์เพื่อการศึกษา หรือการวิจัย
40.
1. การโคลนมนุษย์ 2. การทาแท้ง 3.
สิ่งมีชีวิต GMOs 5. การใช้สัตว์ทดลองทางชีววิทยา 6. การผลิตอาวุธชีวภาพ
Download