ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Ȩ๶สนอ
       อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร


             สมำชิก
1. นส. ชยำนันต์ แข็งขัน 2 ม.4/5
2. นส. ญำณิน ธัญกิจจำนุกิจ 33 ม.4/5
เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ใช้ และเป็นที่นิยมมากใน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยแรก ๆ แต่ในปัจจุบนสายโคแอ็กซ์ถือได้ว่า
                                              ั
เป็นสายทีล้าสมัย อย่างไรก็ตามยังมีระบบ เครือข่ายบางประเภทที่ยง
            ่                                                       ั
ใช้สายประเภทนี้อยู่
                สายโคแอกเชียล มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สองส่วน คาว่า
โคแอ็กซ์ มีความหมายว่า "มีแกนร่วมกัน"
           โครงสร้างของสายประกอบด้วยสายทองแดงเป็นแกนกลาง
แล้วห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะเป็นตัวนาไฟฟ้าอีกชั้นหนึ่ง
ซึ่งจะเป็นแผ่นโลหะบาง ๆ หรืออาจจะเป็นใยโลหะที่ถักเปียปุ้มอีก
ชั้นหนึ่ง สุดท้ายก็หุ้มด้วยฉนวนและวัสดุป้องกันสายสัญญาณ
สายโคแอ็กซ์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

    1. แบบบาง
    2. แบบหนา
1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable)
   (Thin Coaxial Cable หรือ Thinnet Cable)
    สายโคแอ็กซ์แบบบางเป็นสายที่มีขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง
    ประมาณ 0.64 cm เนื่องจากสายประเภทนี้มีขนาดเล็กและมี
    ความยืดหยุ่นสูงจึงสามารถใช้ได้ กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุก
    ประเภท สายประเภทนี้สามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร
    ก่อนที่สัญญาณจะเริ่มอ่อนกาลัง ลง บริษัทผู้ผลิตสายโคแอ็กซ์ได้
    ลงความเห็นร่วมกันในการแบ่งประเภทของสายโคแอ็กซ์ สายโค
    แอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ใน สายประเภท RG-58 ซึ่งสาย
    ประเภทนี้จะมีความต้านทาน (Impedance) ที่ 50 โอห์ม
    สายประเภทนี้จะมีแกนกลางอยู่ 2 ลักษณะคือ แบบที่เป็นสาย
    ทองแดงเส้นเดียวและแบบที่เป็นใยโลหะหลายเส้น
2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) สายโคแอ็กซ์แบบหนา
(Thicknet Cable) เป็นสายโคแอ็กซ์ที่ค่อนข้าง แข็ง และขนาดใหญ่กว่าสายโค
แอ็กซ์แบบบาง โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.27 cm สายโคแอ็กซ์แบบหนานี้
เป็นสาย
สัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบอีเธอร์เน็ต ส่วนแกนกลางที่เป็นสายทองแดง
ของสายโคแอ็กซ์แบบหนาจะมีขนาดใหญ่กว่า ดังนั้นสายโคแอ็กซ์แบบหนานี้จึงสามารถ
นา สัญญาณ ได้ไกลกว่าแบบบาง โดยสามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 500 เมตร ด้วย
ความสามารถนี้สายโคแอ็กซ์แบบหนาจึงนิยมใช้ ในการเชื่อมต่อเส้นทางหลักของข้อมูล
หรือ แบ็คโบน (Backbone) ของเครือข่ายสมัยแรก ๆ แต่ปัจจุบันได้เลิกใช้สายโค
แอ็กซ์
แล้ว โดยสายที่นิยมใช้ทาเป็นแบ็คโบน คือ สายใยแก้วนาแสง ซึ่งจะได้กล่าวใน
รายละเอียดในส่วนต่อไป
ข้อดีและข้อเสียྺองสายโคแอก๶ชียล

               ข้อดี
   -เชื่อมต่อได้ในระยะทางไกล
  -ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี

            ข้อเสีย
         -มีราคาแพง
       -สายมีขนาดใหญ่
         -ติดตั้งยาก
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405
คำถำม+๶ฉลย
อ้ำงอิง
http://a-sakura-
sometime.blogspot.com/

  http://student.nu.ac.th/datac
  om47353412/data3.html
   http://computernetwork.site4
   0.net/
http://kmcenter.rid.go.th/kcit
c/2011/index.php?option=co
m_content&view=article&id=
382:2011-09-07-08-45-
32&catid=62:2011-08-29-08-
47-05&Itemid=35

More Related Content

สายโคแอกซ์(ชยานันต์+ญาณิน)405

  • 1. Ȩ๶สนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1. นส. ชยำนันต์ แข็งขัน 2 ม.4/5 2. นส. ญำณิน ธัญกิจจำนุกิจ 33 ม.4/5
  • 2. เป็นสายสัญญาณประเภทแรกที่ใช้ และเป็นที่นิยมมากใน เครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยแรก ๆ แต่ในปัจจุบนสายโคแอ็กซ์ถือได้ว่า ั เป็นสายทีล้าสมัย อย่างไรก็ตามยังมีระบบ เครือข่ายบางประเภทที่ยง ่ ั ใช้สายประเภทนี้อยู่ สายโคแอกเชียล มีตัวนาไฟฟ้าอยู่สองส่วน คาว่า โคแอ็กซ์ มีความหมายว่า "มีแกนร่วมกัน" โครงสร้างของสายประกอบด้วยสายทองแดงเป็นแกนกลาง แล้วห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็นฉนวน ชั้นต่อมาจะเป็นตัวนาไฟฟ้าอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแผ่นโลหะบาง ๆ หรืออาจจะเป็นใยโลหะที่ถักเปียปุ้มอีก ชั้นหนึ่ง สุดท้ายก็หุ้มด้วยฉนวนและวัสดุป้องกันสายสัญญาณ
  • 4. 1. สายโคแอ็กซ์แบบบาง (Thin Coaxial Cable) (Thin Coaxial Cable หรือ Thinnet Cable) สายโคแอ็กซ์แบบบางเป็นสายที่มีขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 0.64 cm เนื่องจากสายประเภทนี้มีขนาดเล็กและมี ความยืดหยุ่นสูงจึงสามารถใช้ได้ กับการติดตั้งเครือข่ายเกือบทุก ประเภท สายประเภทนี้สามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 185 เมตร ก่อนที่สัญญาณจะเริ่มอ่อนกาลัง ลง บริษัทผู้ผลิตสายโคแอ็กซ์ได้ ลงความเห็นร่วมกันในการแบ่งประเภทของสายโคแอ็กซ์ สายโค แอ็กซ์แบบบางได้ถูกรวมไว้ใน สายประเภท RG-58 ซึ่งสาย ประเภทนี้จะมีความต้านทาน (Impedance) ที่ 50 โอห์ม สายประเภทนี้จะมีแกนกลางอยู่ 2 ลักษณะคือ แบบที่เป็นสาย ทองแดงเส้นเดียวและแบบที่เป็นใยโลหะหลายเส้น
  • 5. 2. สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thick Coaxial Cable) สายโคแอ็กซ์แบบหนา (Thicknet Cable) เป็นสายโคแอ็กซ์ที่ค่อนข้าง แข็ง และขนาดใหญ่กว่าสายโค แอ็กซ์แบบบาง โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.27 cm สายโคแอ็กซ์แบบหนานี้ เป็นสาย สัญญาณประเภทแรกที่ใช้กับเครือข่ายแบบอีเธอร์เน็ต ส่วนแกนกลางที่เป็นสายทองแดง ของสายโคแอ็กซ์แบบหนาจะมีขนาดใหญ่กว่า ดังนั้นสายโคแอ็กซ์แบบหนานี้จึงสามารถ นา สัญญาณ ได้ไกลกว่าแบบบาง โดยสามารถนาสัญญาณได้ไกลถึง 500 เมตร ด้วย ความสามารถนี้สายโคแอ็กซ์แบบหนาจึงนิยมใช้ ในการเชื่อมต่อเส้นทางหลักของข้อมูล หรือ แบ็คโบน (Backbone) ของเครือข่ายสมัยแรก ๆ แต่ปัจจุบันได้เลิกใช้สายโค แอ็กซ์ แล้ว โดยสายที่นิยมใช้ทาเป็นแบ็คโบน คือ สายใยแก้วนาแสง ซึ่งจะได้กล่าวใน รายละเอียดในส่วนต่อไป
  • 6. ข้อดีและข้อเสียྺองสายโคแอก๶ชียล ข้อดี -เชื่อมต่อได้ในระยะทางไกล -ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี ข้อเสีย -มีราคาแพง -สายมีขนาดใหญ่ -ติดตั้งยาก
  • 10. อ้ำงอิง http://a-sakura- sometime.blogspot.com/ http://student.nu.ac.th/datac om47353412/data3.html http://computernetwork.site4 0.net/ http://kmcenter.rid.go.th/kcit c/2011/index.php?option=co m_content&view=article&id= 382:2011-09-07-08-45- 32&catid=62:2011-08-29-08- 47-05&Itemid=35