ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Ȩ๶สนอ
    อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร



           สมาชิก
  นาย ภคพล ชมแสง 27 ม.4/5
นาย ธีรวีร์ กะรัสนันทน์ 25 ม.4/5
คลื่นวิทยุ (Radio waves)
เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้น
สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าซึงสามารไช้ต้มนาร้อนได้แล้วช่วยลอโลก
ร้อนได้เป็นการบวกที่ดี
     คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทาง
คณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865
แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายคลึง
กับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและ
แม่เหล็ก เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุใน
รูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ.
1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็น
ความจริงโดยจาลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา
หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทาให้เรา
สามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
องค์ประกอบของคลื่น
       องค์ประกอบของคลื่น แบ่ง
  ออกเป็น 4 องค์ประกอบ
 คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นทีเ่ ดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิว
  ดิน หรือผิวน้าก็ได้ พิสัยของการกระจายคลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่า
  ความนาทางไฟฟ้าของผิวที่คลืนนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความ
                               ่
  นาจะเป็นตัวกาหนดการถูกดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิว
  โลก การถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนี้จะเพิ่มขึนตามความถี่ที่สูงขึ้น
                                          ้
 คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก
  สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดยมิได้มี
  การสะท้อนใด ๆ
องค์ประกอบของคลื่น(ต่อ)

 คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไป
  กระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ
 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้น
  ต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเห
  แบบปกติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น
  บรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการ
  เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศอย่างทันทีทนใด และั
  ไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของบรรยากาศ
  ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร


 คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร
      1.1 ระบบ A.M. (amplitude
  modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลืนฟ้า
                                            ่
  (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์)
      1.2 ระบบ F.M. (frequency
  modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน
 สามารถเดินทางทะลุผ่านกาแพงได้
ผลกระทบྺองคลื่Ȩิทยุ

              ผลของคลื่นวิทยุทมีต่อร่างกาย คลื่นวิทยุสามารถทะลุ
                                   ี่
  เข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่น
  ทีตกกระทบ และอาจทาลายเนือเยือของอวัยวะภายในบางชนิดได้
    ่                             ้ ่
  ผลการทาลายจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความเข้ม ช่วงเวลาที่
  ร่างกายได้รับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ อวัยวะที่มความไวต่อ
                                                      ี
  คลื่นวิทยุ ได้แก่ นัยน์ตา ปอด ถุงน้าดี กระเพาะปัสสาวะ อัณฑะ
  และบางส่วนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ
  เป็นอวัยวะที่อ่อนแอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นวิทยุช่วงไมโครเวฟ
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ

คลื่นวิทยุช่วงความถี่ต่าง ๆ อาจมีผลต่อร่างกายดังนี้
        1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่น้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นมากกว่า 2
     เมตร) คลื่นจะทะลุผ่านร่างกายโดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่องจากไม่มีการดูดกลืน
     พลังงานของคลื่นไว้ ร่างกายจึงเปรียบเสมือนเป็นวัตถุโปร่งใสต่อคลื่นวิทยุช่วงนี้
        2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ
     ยาวคลื่นระหว่าง 2.00 ถึง 0.25 เมตร) คลื่นวิทยุช่วงนี้สามารถทะลุผ่านเข้าไปใน
     ร่างกายได้ลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร ทาให้เกิดความร้อนขึ้นในเนื้อเยื่อ
     โดยที่ร่างกายไม่สามารถรู้สึกได้ อุณหภูมิหรือระดับความร้อนของร่างกายจะสูงขึ้น
     เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกายที่สูงกว่าระดับปกติอาจ
     ก่อให้เกิดผลหลายประการ เช่น
            - เลือดจะแข็งตัวช้ากว่าปกติ ผลอันนี้ถ้ามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมี
     ความรุนแรง
            - การหมุนเวียนของเลือดเร็วขึ้น
            - ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมีความจุออกซิเจนลดลง ทาให้เลือดมี
     ออกซิเจนไม่เพียงพอเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง อาจทาให้มีการกระตุกของกล้ามเนื้อจนถึงชัก
     ผลที่ตามมาก็คือ ไม่รสึกตัวและอาจเสียชีวิตได้
                            ู้
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)

      3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่น
    ระหว่าง 30 ถึง 10 เซนติเมตร) ทั้งผิวหนังและเนื้อเยื่อลึกลงไปดูดกลืน
    พลังงานได้ราวร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 100 ขึ้นอยู่กับชนิดของเนื้อเยื่อ
    คลื่นวิทยุเช่นนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความ
    ไวเป็นพิเศษต่อคลื่นวิทยุความถี่ประมาณ 3 จิกะเฮิรตซ์ เพราะเลนส์ตามี
    ความแตกต่างจากอวัยวะอื่นตรงที่ไม่มีเลือดมาหล่อเลี้ยงและไม่มีกลไกซ่อม
    เซลล์ ดังนั้นเมื่อนัยน์ตาได้รับคลื่นอย่างต่อเนื่องจะทาให้ของเหลวภายในตามี
    อุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม่สามารถถ่ายโอนความร้อน เพื่อให้อุณหภูมิลดลงได้
    เหมือนเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างรุนแรงตามมา
    พบว่าถ้าอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลล์เลนส์ตาบางส่วนอาจถูกทาลายอย่างช้า
    ๆ ทาให้ความโปร่งแสงของเลนส์ตาลดลง ตาจะขุ่นลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิด
    เป็นต้อกระจก สายตาผิดปกติ และสุดท้ายอาจมองไม่เห็น
    4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 10
    ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่า
    เหมือนกับถูกแสงอาทิตย์

     5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 3
    เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)

    4. คลื่นวิทยุทมีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ
                   ี่
    ยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถ
    ดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์

     5. คลื่นวิทยุทมีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาว
                    ี่
    คลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป
    โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
ลักษณะการเกิดคลื่น

   สมมุติว่าเราโยนก้อนหินลงไปในน้า ทันทีทกอนหินกระทบผิวน้าจะ
                                              ่ี ้
    เกิดลูกคลืนของน้ากระจายไปโดยรอบ เป็นวงกลม สังเกตเห็นว่า
               ่
    รูปคลื่นกระจายกว้างออกไปเรื่อย ๆ แต่ผิวน้านั้นเพียงกระเพื่อม
    ขึ้นลงเท่านั้น ดังนั้นกล่าวได้ว่า การเดินทางของคลื่นเป็นการ
    เดินทางของพลังงานชนิดหนึ่ง ซึ่งถ้าสังเกตผิวน้าที่กระเพื่อมขึ้น
    ลง จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นลอนคล้ายลอนของสังกะสีหลังคา
    บ้าน หากดูทางภาคตัดขวางจะมีลักษณะเป็นคลืนซายน์ ่
    (SINE WAVE ) ดังรูปที่ 1 (ภาพตัดขวางของ
    รูปคลื่น)
ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)

              จุดสูงสุดของคลื่นเรียกว่า ยอดคลื่น และจุดต่าสุด
    ของคลื่นเรียกว่า ท้องคลื่น ลูกคลื่นแต่ละลูกคลื่นจะแสดงการ
    เปลี่ยนแปลงทางกายภาพครบหนึ่งรอบพอดี จากรูปที่ 1 การ
    เปลี่ยนแปลง
    จาก A ถึง E คือ A B C D E จะแทน
    คลื่น 1 ลูก หลังจากนั้นจะเริ่มรอบใหม่หรือคลื่นลูกใหม่ต่อไป
                  ถ้าเราปักไม้ไว้ในน้าแล้วคอยสังเกตดูลูกคลืนที่ผ่านไม้
                                                           ่
    นั้น จานวนลูกคลื่นที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรา
    เรียกว่า ความถี่ ซึ่งหมายถึง จานวนรอบของการเปลี่ยนแปลงต่อ
    วินาที (CYCLE PER SECOND) ในปัจจุบัน
    เรียกว่า เฮริตซ์ (HERTZ)
ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)
     การวัดระยะห่างระหว่างยอดคลื่นของคลื่นแต่ละลูก ค่าที่ได้
    เรียกว่า ความยาวคลื่น (WAVELENGTH) ใช้
    สัญลักษณ์ l มีหน่วยเป็นเมตร ระยะเวลาที่คลื่นใช้ไปในการเดินทาง
    เป็นระยะทาง 1 ความยาวคลื่น เรียกว่า คาบ(PERIOD) ใช้
    แทนด้วยตัวอักษร T มีหน่วยเป็นวินาที
                คลื่นวิทยุก็มความคล้ายคลึงกันกับคลื่นในน้า คลื่นจะ
                             ี
    เกิดได้จะต้องมีแหล่งกาเนิด ใน กรณีของคลื่นในน้านั้นเกิดจากการ
    โยนก้อนหินกระทบผิวน้า แต่คลื่นวิทยุนั้น เกิดจากการเคลื่อนที่
    ของกระแสไฟฟ้าในอากาศ ซึ่งจะเกิดคลื่นวิทยุกระจายออกไป
    รอบๆ สายอากาศ ดังรูปที่ 2
คาถาม?

 คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2
  ชนิด(มี2ชนิดอยู่แล้ว.)
 ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ

 จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร
                     ่
 คลื่นสะท้อนดิน หมายถึงอะไร

 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร
เฉลยคาภาม
 คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2ชนิด
  (มี2ชนิดอยู่แล้ว.) (1.1 ระบบ A.M. (amplitude
  modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า
  (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์) 1.2 ระบบ F.M.
  (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะ
  คลื่นดิน)
 ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ(ข้อดี..ใช้เพื่อ
  การสื่อสารระยะไกล...ทาให้เป็นมะเร็งสมอง(หมอได้เงิน) ข้อเสียมีโอกาส
  ที่จะเป็นมะเร็งสมอง... ไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายของ
  สัญญาณให้อยู่เฉพาะภายในหรือภายนอกอาคาร เนื่องจากสัญญาณ
  ผ่านกาแพงได้)
 จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร
                     ่
 (ความถี)  ่
เฉลยคาถาม(ต่อ)

 คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร
 คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปส
  เฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจากการ
  เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง
  แต่เป็นการหักเหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น
  บรรยากาศอย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและ
  ในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่
  เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
อ้างอิง

  http://th.wikipedia.org/wiki/
  http://irrigation.rid.go.th/rid17/My
   web/machanical/commu/vorapot.
   html
  http://www.eschool.su.ac.th/scho
   ol12/M4_2546/4-
   3/3_008/Title%203.htm

More Related Content

คลื่Ȩิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405

  • 1. Ȩ๶สนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมาชิก นาย ภคพล ชมแสง 27 ม.4/5 นาย ธีรวีร์ กะรัสนันทน์ 25 ม.4/5
  • 2. คลื่นวิทยุ (Radio waves) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุบนเส้น สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าซึงสามารไช้ต้มนาร้อนได้แล้วช่วยลอโลก ร้อนได้เป็นการบวกที่ดี คลื่นวิทยุถูกค้นพบครั้งแรกระหว่างการตรวจสอบทาง คณิตศาสตร์โดยเจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ ในปี ค.ศ. 1865 แมกซ์เวลล์สังเกตพบคุณสมบัติของแสงบางประการที่คล้ายคลึง กับคลื่น และคล้ายคลึงกับผลการเฝ้าสังเกตกระแสไฟฟ้าและ แม่เหล็ก เขาจึงนาเสนอสมการที่อธิบายคลื่นแสงและคลื่นวิทยุใน รูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางในอวกาศ ปี ค.ศ. 1887 เฮนริค เฮิร์ตซ ได้สาธิตสมการของแมกซ์เวลล์ว่าเป็น ความจริงโดยจาลองการสร้างคลื่นวิทยุขึ้นในห้องทดลองของเขา หลังจากนั้นก็มีสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และทาให้เรา สามารถนาคลื่นวิทยุมาใช้ในการส่งข้อมูลผ่านห้วงอวกาศได้
  • 3. องค์ประกอบของคลื่น องค์ประกอบของคลื่น แบ่ง ออกเป็น 4 องค์ประกอบ  คลื่นผิวดิน หมายถึง คลื่นทีเ่ ดินตามไปยังผิวโลกอาจเป็นผิว ดิน หรือผิวน้าก็ได้ พิสัยของการกระจายคลื่นชนิดนี้ขึ้นอยู่กับค่า ความนาทางไฟฟ้าของผิวที่คลืนนี้เดินทางผ่านไป เพราะค่าความ ่ นาจะเป็นตัวกาหนดการถูกดูดกลืนพลังงานของคลื่นผิว โลก การถูกดูดกลืนของคลื่นผิวนี้จะเพิ่มขึนตามความถี่ที่สูงขึ้น ้  คลื่นตรง หมายถึง คลื่นที่เดินทางออกไปเป็นเส้นตรงจาก สายอากาศ ส่งผ่านบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรับโดยมิได้มี การสะท้อนใด ๆ
  • 4. องค์ประกอบของคลื่น(ต่อ)  คลื่นสะท้อนดิน หมายถึง คลื่นที่ออกมาจากสายอากาศ ไป กระทบผิวดินแล้วเกิดการสะท้อนไปเข้าที่สายอากาศรับ  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึง คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้น ต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปสเฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเห แบบปกติที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น บรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศอย่างทันทีทนใด และั ไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 5. คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร  คลื่นวิทยุ ใช้ในการสื่อสาร  1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลืนฟ้า ่ (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์)  1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะคลื่นดิน  สามารถเดินทางทะลุผ่านกาแพงได้
  • 6. ผลกระทบྺองคลื่Ȩิทยุ ผลของคลื่นวิทยุทมีต่อร่างกาย คลื่นวิทยุสามารถทะลุ ี่ เข้าไปในร่างกายมนุษย์ได้ลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่น ทีตกกระทบ และอาจทาลายเนือเยือของอวัยวะภายในบางชนิดได้ ่ ้ ่ ผลการทาลายจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความเข้ม ช่วงเวลาที่ ร่างกายได้รับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ อวัยวะที่มความไวต่อ ี คลื่นวิทยุ ได้แก่ นัยน์ตา ปอด ถุงน้าดี กระเพาะปัสสาวะ อัณฑะ และบางส่วนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ เป็นอวัยวะที่อ่อนแอที่สุดเมื่อได้รับคลื่นวิทยุช่วงไมโครเวฟ
  • 7. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ คลื่นวิทยุช่วงความถี่ต่าง ๆ อาจมีผลต่อร่างกายดังนี้ 1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่น้อยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นมากกว่า 2 เมตร) คลื่นจะทะลุผ่านร่างกายโดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่องจากไม่มีการดูดกลืน พลังงานของคลื่นไว้ ร่างกายจึงเปรียบเสมือนเป็นวัตถุโปร่งใสต่อคลื่นวิทยุช่วงนี้ 2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ ยาวคลื่นระหว่าง 2.00 ถึง 0.25 เมตร) คลื่นวิทยุช่วงนี้สามารถทะลุผ่านเข้าไปใน ร่างกายได้ลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร ทาให้เกิดความร้อนขึ้นในเนื้อเยื่อ โดยที่ร่างกายไม่สามารถรู้สึกได้ อุณหภูมิหรือระดับความร้อนของร่างกายจะสูงขึ้น เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกาย ความร้อนในร่างกายที่สูงกว่าระดับปกติอาจ ก่อให้เกิดผลหลายประการ เช่น - เลือดจะแข็งตัวช้ากว่าปกติ ผลอันนี้ถ้ามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมี ความรุนแรง - การหมุนเวียนของเลือดเร็วขึ้น - ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมีความจุออกซิเจนลดลง ทาให้เลือดมี ออกซิเจนไม่เพียงพอเลี้ยงเนื้อเยื่อต่าง อาจทาให้มีการกระตุกของกล้ามเนื้อจนถึงชัก ผลที่ตามมาก็คือ ไม่รสึกตัวและอาจเสียชีวิตได้ ู้
  • 8. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)  3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่น ระหว่าง 30 ถึง 10 เซนติเมตร) ทั้งผิวหนังและเนื้อเยื่อลึกลงไปดูดกลืน พลังงานได้ราวร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 100 ขึ้นอยู่กับชนิดของเนื้อเยื่อ คลื่นวิทยุเช่นนี้เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความ ไวเป็นพิเศษต่อคลื่นวิทยุความถี่ประมาณ 3 จิกะเฮิรตซ์ เพราะเลนส์ตามี ความแตกต่างจากอวัยวะอื่นตรงที่ไม่มีเลือดมาหล่อเลี้ยงและไม่มีกลไกซ่อม เซลล์ ดังนั้นเมื่อนัยน์ตาได้รับคลื่นอย่างต่อเนื่องจะทาให้ของเหลวภายในตามี อุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม่สามารถถ่ายโอนความร้อน เพื่อให้อุณหภูมิลดลงได้ เหมือนเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างรุนแรงตามมา พบว่าถ้าอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลล์เลนส์ตาบางส่วนอาจถูกทาลายอย่างช้า ๆ ทาให้ความโปร่งแสงของเลนส์ตาลดลง ตาจะขุ่นลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิด เป็นต้อกระจก สายตาผิดปกติ และสุดท้ายอาจมองไม่เห็น  4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่า เหมือนกับถูกแสงอาทิตย์  5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
  • 9. ผลกระทบต่อร่างกายของคลื่นวิทยุ(ต่อ)  4. คลื่นวิทยุทมีความถี่ระหว่าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความ ี่ ยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถ ดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์  5. คลื่นวิทยุทมีความถี่สูงกว่า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาว ี่ คลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะสะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย
  • 10. ลักษณะการเกิดคลื่น  สมมุติว่าเราโยนก้อนหินลงไปในน้า ทันทีทกอนหินกระทบผิวน้าจะ ่ี ้ เกิดลูกคลืนของน้ากระจายไปโดยรอบ เป็นวงกลม สังเกตเห็นว่า ่ รูปคลื่นกระจายกว้างออกไปเรื่อย ๆ แต่ผิวน้านั้นเพียงกระเพื่อม ขึ้นลงเท่านั้น ดังนั้นกล่าวได้ว่า การเดินทางของคลื่นเป็นการ เดินทางของพลังงานชนิดหนึ่ง ซึ่งถ้าสังเกตผิวน้าที่กระเพื่อมขึ้น ลง จะเห็นว่ามีลักษณะเป็นลอนคล้ายลอนของสังกะสีหลังคา บ้าน หากดูทางภาคตัดขวางจะมีลักษณะเป็นคลืนซายน์ ่ (SINE WAVE ) ดังรูปที่ 1 (ภาพตัดขวางของ รูปคลื่น)
  • 11. ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)  จุดสูงสุดของคลื่นเรียกว่า ยอดคลื่น และจุดต่าสุด ของคลื่นเรียกว่า ท้องคลื่น ลูกคลื่นแต่ละลูกคลื่นจะแสดงการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพครบหนึ่งรอบพอดี จากรูปที่ 1 การ เปลี่ยนแปลง จาก A ถึง E คือ A B C D E จะแทน คลื่น 1 ลูก หลังจากนั้นจะเริ่มรอบใหม่หรือคลื่นลูกใหม่ต่อไป ถ้าเราปักไม้ไว้ในน้าแล้วคอยสังเกตดูลูกคลืนที่ผ่านไม้ ่ นั้น จานวนลูกคลื่นที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรา เรียกว่า ความถี่ ซึ่งหมายถึง จานวนรอบของการเปลี่ยนแปลงต่อ วินาที (CYCLE PER SECOND) ในปัจจุบัน เรียกว่า เฮริตซ์ (HERTZ)
  • 12. ลักษณะการเกิดคลื่น(ต่อ)  การวัดระยะห่างระหว่างยอดคลื่นของคลื่นแต่ละลูก ค่าที่ได้ เรียกว่า ความยาวคลื่น (WAVELENGTH) ใช้ สัญลักษณ์ l มีหน่วยเป็นเมตร ระยะเวลาที่คลื่นใช้ไปในการเดินทาง เป็นระยะทาง 1 ความยาวคลื่น เรียกว่า คาบ(PERIOD) ใช้ แทนด้วยตัวอักษร T มีหน่วยเป็นวินาที คลื่นวิทยุก็มความคล้ายคลึงกันกับคลื่นในน้า คลื่นจะ ี เกิดได้จะต้องมีแหล่งกาเนิด ใน กรณีของคลื่นในน้านั้นเกิดจากการ โยนก้อนหินกระทบผิวน้า แต่คลื่นวิทยุนั้น เกิดจากการเคลื่อนที่ ของกระแสไฟฟ้าในอากาศ ซึ่งจะเกิดคลื่นวิทยุกระจายออกไป รอบๆ สายอากาศ ดังรูปที่ 2
  • 13. คาถาม?  คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2 ชนิด(มี2ชนิดอยู่แล้ว.)  ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ  จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร ่  คลื่นสะท้อนดิน หมายถึงอะไร  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร
  • 14. เฉลยคาภาม  คลื่นวิทยุที่ใช้ในการสื่อสารมีกี้ชนิดและอะไรบ้างยกตัวอย่างมา2ชนิด (มี2ชนิดอยู่แล้ว.) (1.1 ระบบ A.M. (amplitude modulation) ส่งสัญญาณได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า (สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์) 1.2 ระบบ F.M. (frequency modulation) ส่งสัญญาณได้เฉพาะ คลื่นดิน)  ยกตัวอย่างข้อดีและข้อเสียของคลื่นวิทยุมาอย่างละ2ข้อ(ข้อดี..ใช้เพื่อ การสื่อสารระยะไกล...ทาให้เป็นมะเร็งสมอง(หมอได้เงิน) ข้อเสียมีโอกาส ที่จะเป็นมะเร็งสมอง... ไม่สามารถควบคุมการแพร่กระจายของ สัญญาณให้อยู่เฉพาะภายในหรือภายนอกอาคาร เนื่องจากสัญญาณ ผ่านกาแพงได้)  จานวนลูกคลื่นทีผ่านจุดใดจุดหนึ่งกาหนดต่อวินาที เรียกว่าอะไร ่  (ความถี) ่
  • 15. เฉลยคาถาม(ต่อ)  คลื่นหักเหโทรโปสเฟียร์ หมายถึงอะไร  คลื่นหักเหในบรรยากาศชั้นต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปส เฟียร์ การหักเหนี้มิใช่เป็นการหักเหแบบปกติที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของโลกกับความสูง แต่เป็นการหักเหที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของชั้น บรรยากาศอย่างทันทีทันใด และไม่สม่าเสมอของความหนาแน่นและ ในความชื้นของบรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณ์ที่ เรียกว่า อุณหภูมิแปรกลับ
  • 16. อ้างอิง  http://th.wikipedia.org/wiki/  http://irrigation.rid.go.th/rid17/My web/machanical/commu/vorapot. html  http://www.eschool.su.ac.th/scho ol12/M4_2546/4- 3/3_008/Title%203.htm