ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร

     สมาชิก
สายคู่บิดเกลียว

 เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั่วไป รวมทั้ง
  ตามสานักงานต่างๆ สายชนิดนี้ได้ชื่อมาจากลักษณะองค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสาย
  ลวดทองแดงสองเส้นนามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อทาให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือน
  เกราะสาหรับป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จานวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียว เช่น
  พันเกลียว 10 รอบต่อความยาว 1 ฟุต นั้นมีผลโดยตรงต่อกาลังของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น ถ้าจานวน
  รอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็กมีกาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ก็ทาให้
  สิ้นเปลืองสายมากขึ้น แต่ถ้าจานวนรอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่งป้องกันสัญญาณ
  รบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้จึงมีคุณสมบัติในการป้องกัน
  สัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสายที่ไม่มีการ พันเกลียวเลยบริเวณแกน (Core) ของสายคู่บิดเกลียว สาย
  คู่บิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือหลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อ
  ป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้วนามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่ง
  รวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
 แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
 แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม
 สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่
   กาหนด สาหรับสายประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มี
   จานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้นซึ่งแต่ละเส้น
   ก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายนันจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รบ
                                      ้                                                               ั
   ความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย แสดงดังรูป
สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EIA (Electronics Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม หรือ
TIA (Telecommunication Industries Association) ได้ร่วมกันกาหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้
ในการผลิตสาย UTP โดยมาตรฐานนี้ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภทโดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คือ
หมายเลขที่บอกประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ (International Organization for Standardization) ได้กาหนด
มาตรฐานนี้เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F คุณสมบัติทั่วไปของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้
                            Parameter dB       CAT5       CAT5e         CAT6
                             Minimum
                             Frequency        100 MHz    100 MHz      250 MHz
                                (สูงสุด)
                            Attenuation
                                               24 dB      24 dB         36 dB
                                (สูงสุด)
                            NEXT (ต่าสุด)     27.1 dB     30.1 dB      33.1 dB
                           PS-NEXT(ต่าสุด)      N/A       27.1 dB      33.2 dB

                            ELFEXT(ต่าสุด)     17 dB      17.4 dB      17.3 dB
                            PS-ELFEXT(
                                ต่าสุด)       14.4 dB     14.4 dB      12.3 dB
                              ACR(ต่าสุด)      3.1 dB     6.1 dB       -2.9 dB
                            PS-ACR(ต่าสุด)      N/B       3.1 dB       -5.8 dB
                            Return Loss(
                                ต่าสุด)        8 dB       10 dB         8 dB
                            Propagation
                                              548 nsec   548 nsec     546 nsec
                             Delay (สูงสุด)
                             Delay Skew
                                              50 nsec    50 nsec       50 nsec
                                (สูงสุด)
 Category 1/Class A : เป็นสายที่ใช้ในระบบโทรศัพท์อย่างเดียว โดยสายนี้ไม่สามารถใช้ใน
    การส่ง ข้อมูลแบบดิจิตอลได้
   Category 2/Class B : เป็นสายที่รองรับแบนด์วิธได้ถึง 4 MHz ซึ่งทาให้สามารถส่งข้อมูล
    แบบดิจิตอล ได้ถึง 4 MHz ซึ่งจะประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
   Category 3/Class C : เป็นสายที่สามารถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว
    อยู่ 4 คู่
   Category 4 : ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
   Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
   Category 5 Enhanced (5e) : มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคุณภาพของสายที่
    ดีกว่า เพื่อรองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1,000 Mbps ซึ่งใช้4 คู่สาย
   Category 6/Class E : ส่งข้อมูลได้ถึง 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ถึง 250 MHz
   Category 7/Class F : รองรบแบนด์วิธได้ถึง 600 MHz และกาลังอยู่ในระหว่างการวิจัย
 สาย UTP CAT3 นิยมใช้กบเครือข่าย LAN ตามมาตรฐาน IEEE 802.3
                       ั
  ทางานที่ความเร็ว 10 Mbps โดยในการใช้งานจริง จะใช้เพียงสองคู่เท่านัน ได้แก่คู่สี
                                                                    ้
  ส้มและสีเขียว มาตรฐาน CAT3 ไม่สามารถรองรับการใช้งานกับเครือข่าย Fast
  Ethernet ความเร็ว 100 Mbps ได้ ดังนั้นในมาตรฐานนี้จึงต้องใช้สาย UTP
  CAT5 แทน สาหรับมาตรฐาน Fast Ethernet จะมีการใช้งานเพียงสองคู่
  เช่นเดียวกับ CAT3 เมื่อมาตรฐานความเร็วของเครือข่าย LAN เพิ่มขึ้นเป็น 1000
  Mbps นั้น สาย UTP CAT5 ธรรมดา ไม่เหมาะสมที่จะรองรับการใช้งานที่
  ความเร็วขนาดนี้ โดยคงระยะสายประมาณ 100 เมตรได้ จึงต้องใช้สาย UTP
  CAT5e ซึ่งมีการป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีกว่า ทาให้สามารถรองรับการส่งข้อมูล
  ที่ความเร็ว 1000 Mbps ที่ความยาว 100 เมตรได้ แต่ในมาตรฐาน 1000 Mbps
  นั้น การรับส่งข้อมูลภายในสายสัญญาณ จะใช้ครบทั้งสี่คู่
 ขนาดของสาย UTP เมื่อวัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกควรมีขนาดน้อยกว่า 0.25 นิ้ว หรือ 6.35 มิลลิเมตร
  โดยสายแต่ละเส้น ทนแรงดึงได้มากกว่า 400 นิวตัน คุณสมบัติในเรื่องการดัดโค้งของ สายมีรัศมีความโค้งได้
  เท่ากับ 1 นิว ความต้านทานของสายตามมาตรฐานกาหนดไว้ โดยวัดที่ความยาว 100 เมตร ต้องมีความต้านทาน
               ้
  ไม่เกิน 9.38 โอห์ม (ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส)
 ความต้านทานของสายแต่ละคู่จะต้องต่างกันไม่เกินกว่า 5% คุณสมบัติทางด้านการเหนียวนาร่วมของสายตัวนา
                                                                                       ่
  ให้เกิดคุณสมบัติเป็นตัวเก็บประจุเมื่อวัดที่ความถึ่ 1 กิโลเฮิรตซ์ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ไม่ควรเกินกว่า 6.6
  นาโนฟารัด ที่ความยาว 100 เมตร สาหรับสาย UTP CAT3 หากเป็นสาย UTP 4 และ 5 ควรมีคาความจุ                ่
  ไม่เกิน 5.6 นาโนฟารัด
 ค่าความจุของตัวเก็บประจุของแต่ละสาย เมื่อเทียบกับกราวน์ และวัดที่ความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ์ มีคาไม่เกินกว่า 330
                                                                                               ่
  PF ต่อความยาว 100 เมตร ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ค่าลักษณะสมบัติอิมพีแดนซ์ของสาย UTP เป็นสิ่ง
  ที่มีความสาคัญ ค่านี้จะเกี่ยวกับการสะท้อนของสัญญาณ ถ้าการเชือมโยงไม่แมตซ์กนคุณสมบัติของสาย UTP
                                                                       ่            ั
  ในเรื่องลักษณะสมบัตอิมพีแดซ์นี้มีคา 100 โอห์ม +- 15 % ที่วัดที่ความถี่ 1 MHz จนถึงความถี่สูงสุดของสาย
                        ิ             ่
  ที่ยอมรับในขอบเขตการใช้งาน เมื่อใช้งานสาย UTP ที่ความถี่สงจะมีคุณสมบัติการสะท้อนกลับของสัญญาณ
                                                                     ู
  หากไม่มีการแมตซ์ที่ปลายสาย ทาให้สัญญาณสะท้อนกลับเป็นตัวบันทอนสัญญาณให้เล็กลง การบันทอนในเรือง
                                                                         ่                       ่          ่
  นี้ เราเรียกว่า SRL-Structure Return Lose
 ตารางแสดงคุณสมบัติ SRL ของสาย UTP ที่ใช้เป็นสายแนวราบ


     ความถี(f)์
           ่        CAT3 (dB)       CAT4 (dB)           CAT5 (dB)
    1-10 MHz           12                21                23
                                  21-10 log(f/10)           -
    10-16 MHz     12-10 log(f/10)
                                         23
                          -       21-10 log(f/10)           -
   16-20 MHz
                                         23
                         -                          -     23-10
   20-100 MHz
                                                        log(d/20)
                             * f คือความถี่ใช้งาน
 ข้อดีของสาย์UTP
  - ราคาถูก
  - ติดตั้งง่ายเนืองจากน้าหนักเบา
                  ่
  - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก

  ข้อเสียของสาย์UTP
  - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่หางไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูก
                                        ่
  ลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชือมต่อได้ไม่เกิน 100
                                                           ่
  เมตร)
 สายสัญญาณ STP มีการนาสายคูพนเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้
                            ่ ั
   จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนีวา ชิลด์
                                                      ่                               ้่
   (Shield) และเป็นสายสัญญาณที่ได้รบการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กนสัญญาณรบกวน
                                       ั                                        ั
   เพื่อทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึน คุณลักษณะของสาย STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมี
                                            ้
   เรื่องเกี่ยวกับอัตราการบันทอนครอสทอร์ก
                            ่
 ข้อดีของสาย์STP
  - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
  - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ

  ข้อเสียของสาย์STP
  - มีขนาดใหญ่และไม่คอยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
                     ่
  - ราคาแพงกว่าสาย UTP
คาถาม
 สายคู่บิดเกลียวมีอะไรบ้าง
 จงบอกข้อดีของสายคู่บิดเกลียวที่มีฉนวนหุ้ม
 จงบอกความแตกต่างระหว่างสายคู่บิดเกลียวทั้งสอง
 จงบอกข้อดีของ สายคู่บิดเกลียว แบบไม่มีฉนวน
 จงบอกข้อเสียของ สายคู่บิดเกลียวทั้งสอง
อ้างอิง
 http://www.kmitl.ac.th/~kpteeraw/data_com/dataco
  m_52/html/utp.htm
 http://www.dcs.cmru.ac.th

More Related Content

สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405

  • 2. สายคู่บิดเกลียว  เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทั่วไป รวมทั้ง ตามสานักงานต่างๆ สายชนิดนี้ได้ชื่อมาจากลักษณะองค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสาย ลวดทองแดงสองเส้นนามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อทาให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือน เกราะสาหรับป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จานวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียว เช่น พันเกลียว 10 รอบต่อความยาว 1 ฟุต นั้นมีผลโดยตรงต่อกาลังของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น ถ้าจานวน รอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็กมีกาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ก็ทาให้ สิ้นเปลืองสายมากขึ้น แต่ถ้าจานวนรอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่งป้องกันสัญญาณ รบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้จึงมีคุณสมบัติในการป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสายที่ไม่มีการ พันเกลียวเลยบริเวณแกน (Core) ของสายคู่บิดเกลียว สาย คู่บิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือหลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้วนามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่ง รวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ  แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)  แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
  • 3. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม  สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่ กาหนด สาหรับสายประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มี จานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้นซึ่งแต่ละเส้น ก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายนันจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รบ ้ ั ความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย แสดงดังรูป
  • 4. สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EIA (Electronics Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม หรือ TIA (Telecommunication Industries Association) ได้ร่วมกันกาหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ ในการผลิตสาย UTP โดยมาตรฐานนี้ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภทโดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คือ หมายเลขที่บอกประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ (International Organization for Standardization) ได้กาหนด มาตรฐานนี้เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F คุณสมบัติทั่วไปของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้ Parameter dB CAT5 CAT5e CAT6 Minimum Frequency 100 MHz 100 MHz 250 MHz (สูงสุด) Attenuation 24 dB 24 dB 36 dB (สูงสุด) NEXT (ต่าสุด) 27.1 dB 30.1 dB 33.1 dB PS-NEXT(ต่าสุด) N/A 27.1 dB 33.2 dB ELFEXT(ต่าสุด) 17 dB 17.4 dB 17.3 dB PS-ELFEXT( ต่าสุด) 14.4 dB 14.4 dB 12.3 dB ACR(ต่าสุด) 3.1 dB 6.1 dB -2.9 dB PS-ACR(ต่าสุด) N/B 3.1 dB -5.8 dB Return Loss( ต่าสุด) 8 dB 10 dB 8 dB Propagation 548 nsec 548 nsec 546 nsec Delay (สูงสุด) Delay Skew 50 nsec 50 nsec 50 nsec (สูงสุด)
  • 5.  Category 1/Class A : เป็นสายที่ใช้ในระบบโทรศัพท์อย่างเดียว โดยสายนี้ไม่สามารถใช้ใน การส่ง ข้อมูลแบบดิจิตอลได้  Category 2/Class B : เป็นสายที่รองรับแบนด์วิธได้ถึง 4 MHz ซึ่งทาให้สามารถส่งข้อมูล แบบดิจิตอล ได้ถึง 4 MHz ซึ่งจะประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่  Category 3/Class C : เป็นสายที่สามารถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียว อยู่ 4 คู่  Category 4 : ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่  Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่  Category 5 Enhanced (5e) : มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคุณภาพของสายที่ ดีกว่า เพื่อรองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1,000 Mbps ซึ่งใช้4 คู่สาย  Category 6/Class E : ส่งข้อมูลได้ถึง 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ถึง 250 MHz  Category 7/Class F : รองรบแบนด์วิธได้ถึง 600 MHz และกาลังอยู่ในระหว่างการวิจัย
  • 6.  สาย UTP CAT3 นิยมใช้กบเครือข่าย LAN ตามมาตรฐาน IEEE 802.3 ั ทางานที่ความเร็ว 10 Mbps โดยในการใช้งานจริง จะใช้เพียงสองคู่เท่านัน ได้แก่คู่สี ้ ส้มและสีเขียว มาตรฐาน CAT3 ไม่สามารถรองรับการใช้งานกับเครือข่าย Fast Ethernet ความเร็ว 100 Mbps ได้ ดังนั้นในมาตรฐานนี้จึงต้องใช้สาย UTP CAT5 แทน สาหรับมาตรฐาน Fast Ethernet จะมีการใช้งานเพียงสองคู่ เช่นเดียวกับ CAT3 เมื่อมาตรฐานความเร็วของเครือข่าย LAN เพิ่มขึ้นเป็น 1000 Mbps นั้น สาย UTP CAT5 ธรรมดา ไม่เหมาะสมที่จะรองรับการใช้งานที่ ความเร็วขนาดนี้ โดยคงระยะสายประมาณ 100 เมตรได้ จึงต้องใช้สาย UTP CAT5e ซึ่งมีการป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีกว่า ทาให้สามารถรองรับการส่งข้อมูล ที่ความเร็ว 1000 Mbps ที่ความยาว 100 เมตรได้ แต่ในมาตรฐาน 1000 Mbps นั้น การรับส่งข้อมูลภายในสายสัญญาณ จะใช้ครบทั้งสี่คู่
  • 7.  ขนาดของสาย UTP เมื่อวัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกควรมีขนาดน้อยกว่า 0.25 นิ้ว หรือ 6.35 มิลลิเมตร โดยสายแต่ละเส้น ทนแรงดึงได้มากกว่า 400 นิวตัน คุณสมบัติในเรื่องการดัดโค้งของ สายมีรัศมีความโค้งได้ เท่ากับ 1 นิว ความต้านทานของสายตามมาตรฐานกาหนดไว้ โดยวัดที่ความยาว 100 เมตร ต้องมีความต้านทาน ้ ไม่เกิน 9.38 โอห์ม (ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส)  ความต้านทานของสายแต่ละคู่จะต้องต่างกันไม่เกินกว่า 5% คุณสมบัติทางด้านการเหนียวนาร่วมของสายตัวนา ่ ให้เกิดคุณสมบัติเป็นตัวเก็บประจุเมื่อวัดที่ความถึ่ 1 กิโลเฮิรตซ์ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ไม่ควรเกินกว่า 6.6 นาโนฟารัด ที่ความยาว 100 เมตร สาหรับสาย UTP CAT3 หากเป็นสาย UTP 4 และ 5 ควรมีคาความจุ ่ ไม่เกิน 5.6 นาโนฟารัด  ค่าความจุของตัวเก็บประจุของแต่ละสาย เมื่อเทียบกับกราวน์ และวัดที่ความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ์ มีคาไม่เกินกว่า 330 ่ PF ต่อความยาว 100 เมตร ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ค่าลักษณะสมบัติอิมพีแดนซ์ของสาย UTP เป็นสิ่ง ที่มีความสาคัญ ค่านี้จะเกี่ยวกับการสะท้อนของสัญญาณ ถ้าการเชือมโยงไม่แมตซ์กนคุณสมบัติของสาย UTP ่ ั ในเรื่องลักษณะสมบัตอิมพีแดซ์นี้มีคา 100 โอห์ม +- 15 % ที่วัดที่ความถี่ 1 MHz จนถึงความถี่สูงสุดของสาย ิ ่ ที่ยอมรับในขอบเขตการใช้งาน เมื่อใช้งานสาย UTP ที่ความถี่สงจะมีคุณสมบัติการสะท้อนกลับของสัญญาณ ู หากไม่มีการแมตซ์ที่ปลายสาย ทาให้สัญญาณสะท้อนกลับเป็นตัวบันทอนสัญญาณให้เล็กลง การบันทอนในเรือง ่ ่ ่ นี้ เราเรียกว่า SRL-Structure Return Lose
  • 8.  ตารางแสดงคุณสมบัติ SRL ของสาย UTP ที่ใช้เป็นสายแนวราบ ความถี(f)์ ่ CAT3 (dB) CAT4 (dB) CAT5 (dB) 1-10 MHz 12 21 23 21-10 log(f/10) - 10-16 MHz 12-10 log(f/10) 23 - 21-10 log(f/10) - 16-20 MHz 23 - - 23-10 20-100 MHz log(d/20) * f คือความถี่ใช้งาน
  • 9.  ข้อดีของสาย์UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนืองจากน้าหนักเบา ่ - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก ข้อเสียของสาย์UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่หางไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูก ่ ลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชือมต่อได้ไม่เกิน 100 ่ เมตร)
  • 10.  สายสัญญาณ STP มีการนาสายคูพนเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้ ่ ั จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนีวา ชิลด์ ่ ้่ (Shield) และเป็นสายสัญญาณที่ได้รบการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กนสัญญาณรบกวน ั ั เพื่อทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึน คุณลักษณะของสาย STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมี ้ เรื่องเกี่ยวกับอัตราการบันทอนครอสทอร์ก ่
  • 11.  ข้อดีของสาย์STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ ข้อเสียของสาย์STP - มีขนาดใหญ่และไม่คอยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก ่ - ราคาแพงกว่าสาย UTP
  • 12. คาถาม  สายคู่บิดเกลียวมีอะไรบ้าง  จงบอกข้อดีของสายคู่บิดเกลียวที่มีฉนวนหุ้ม  จงบอกความแตกต่างระหว่างสายคู่บิดเกลียวทั้งสอง  จงบอกข้อดีของ สายคู่บิดเกลียว แบบไม่มีฉนวน  จงบอกข้อเสียของ สายคู่บิดเกลียวทั้งสอง
  • 13. อ้างอิง  http://www.kmitl.ac.th/~kpteeraw/data_com/dataco m_52/html/utp.htm  http://www.dcs.cmru.ac.th