ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Ȩ๶สนอ
    อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร

                สมำชิก
1. น.ส. ชุติกำญจน์ วงษ์อุบล ม.4/6 เลขที่1
  2. น.ส. อิสรีย์ ยุ้นพันธ์ ม.4/6 เลขที่8
สำยคูบิดเกลียว (Twisted Pair Wire)
                ่
•              เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการ
  คอมพิวเตอร์ทั่วไป รวมทั้งตามสานักงานต่างๆ สายชนิดนี้เป็นสายลวดทองแดงสองเส้น
  นามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อทาให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือนเกราะสาหรับ
  ป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จานวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียว ถ้า
  จานวนรอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็กมีกาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดี
  ขึ้น แต่ก็ทาให้สิ้นเปลืองสายมากขึ้น แต่ถ้าจานวนรอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน
  ซึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้
  จึงมีคุณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสายที่ไม่มีการ พันเกลียวเลยบริเวณ
  แกน (Core) ของสายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง
  หรือหลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้วนามาพัน
  เกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งรวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียง
  สายเดียว สายคู่บดเกลียวแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
                      ิ
• แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
• แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
สำยคู่บิดเกลียวแบบไม่มฉนวนหุม (UTP : Unshielded
                      ี       ้
                  Twisted Pair)
• สาย UTP ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กาหนด สาหรับ
  สายประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มี
  จานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คูสายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มี
                                   ่
  หลายเส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก
  (Plastic Cover) มีราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย
สำยคู่บิดเกลียวแบบไม่มฉนวนหุม (UTP : Unshielded
                          ี       ้
                      Twisted Pair




•    สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จานวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย
•    เขียว - ขาวเขียว
•    ส้ม - ขาวส้ม
•    น้าเงิน - ขาวน้าเงิน
•    น้าตาล - ขาวน้าตาล
มาตรฐานสายสัญญาณ
• มาตรฐานสายสัญญาณ
  สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EIA (Electronics
  Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
  หรือ TIA (Telecommunication Industries
  Association) ได้กาหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐาน
  ที่ใช้ในการผลิตสาย UTP ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภท
  โดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คือหมายเลขที่บอก
  ประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ (International
  Organization for Standardization) ได้กาหนดมาตรฐานนี้
  เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F คุณสมบัติทั่วไป
  ของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้
มาตรฐานสายสัญญาณ(ต่อ)
• Category 1/Class A : เป็นสายที่ใช้ในระบบโทรศัพท์ างเดียว  อย่
• Category 2/Class B : เป็นสายที่รองรับแบนด์วิธได้ถึง 4 MHz ซึ่งทาให้สามารถส่งข้อมูลแบบ
  ดิจิตอล ได้ถึง 4 MHz ซึ่งจะประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
• Category 3/Class C : เป็นสายที่สามารถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4
  คู่
• Category 4 : ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
• Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่
• Category 5 Enhanced (5e) : มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคุณภาพของสายที่
  ดีกว่า เพื่อรองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1,000 Mbps ซึ่งใช้4 คู่สาย
• Category 6/Class E : ส่งข้อมูลได้ถึง 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ถึง 250 MHz
• Category 7/Class F : รองรบแบนด์วิธได้ถึง 600 MHz และกาลังอยู่ในระหว่างการวิจัย
• สาย UTP CAT3 นิยมใช้กับเครือข่าย LAN ตามมาตรฐาน IEEE 802.3 ทางานที่ความเร็ว 10
  Mbps โดยในการใช้งานจริง จะใช้เพียงสองคู่เท่านั้น ได้แก่คู่สีส้มและสีเขียว แต่ในมาตรฐาน 1000
  Mbps นั้น การรับส่งข้อมูลภายในสายสัญญาณ จะใช้ครบทั้งสี่คู่
ปัจจัยที่ใช้กาหนดคุณภาพของสายสัญญาณ
•
    ผู้ผลิตสาย UTP แต่ละ Category ต้องผลิตสายสัญญาณให้ได้คุณภาพขั้นต่า
    ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐาน ANSI/EIA/TIA-568-B (568-B.2 (Category
    5e) และ 568.B.2-1 (category 6)) ซึ่งกาหนดค่าต่าง ๆ ในสาย UTP ดังนี้
                               Parameter dB         CAT5       CAT5e      CAT6
                                 Minimum

•   Parameter dB              Frequency (สูงสุด)   100 MHz    100 MHz    250 MHz

                                Attenuation
                                   (สูงสุด)         24 dB      24 dB      36 dB

•   CAT5                         NEXT (ต่าสุด)
                               PS-NEXT(ต่าสุด)
                                                   27.1 dB
                                                     N/A
                                                              30.1 dB
                                                              27.1 dB
                                                                         33.1 dB
                                                                         33.2 dB
                                ELFEXT(ต่าสุด)      17 dB     17.4 dB    17.3 dB

•   CAT5e                     PS-ELFEXT(ต่าสุด)
                                 ACR(ต่าสุด)
                                                   14.4 dB
                                                    3.1 dB
                                                              14.4 dB
                                                               6.1 dB
                                                                         12.3 dB
                                                                         -2.9 dB

•
                                PS-ACR(ต่าสุด)
    CAT6
                                                     N/B       3.1 dB    -5.8 dB
                                Return Loss(
                                    ต่าสุด)          8 dB      10 dB       8 dB
                                Propagation
                                Delay (สูงสุด)     548 nsec   548 nsec   546 nsec
                                Delay Skew
                                   (สูงสุด)        50 nsec    50 nsec    50 nsec
อัตราการบั่นทอนของสาย

• การบันทอนสัญญาณของสาย UTP ขึ้นอยู่กบความถีที่ใช้งานถ้าการ
         ่                                     ั       ่
  บั่นทอนคือค่าที่ทาให้สัญญาณลดต่าลง ซึ่งค่าบั่นทอนนีขึ้นอยูกับ
                                                         ้    ่
  ความถี่ที่ใช้งานโดยวัดที่ความยาวสาย 100 เมตร ตามมาตรฐานวัดที่
  อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสซึ่งปกติค่าคงที่ที่วัดได้ควรจะได้น้อยกว่า
  ค่าที่คานวณได้จากสูตร
• อัตราการบั่นทอน (f) <= k1 sqrt(f)+k2f+k3/sqrt(f)
• * ค่าความถี่ f มีค่าจาก 0.772 MHz จนถึงค่าความถี่สูงสุดของ
  ข้อกาหนดของสายแต่ละชนิด
คุณสมบัติของสาย UTP ที่ใช้ในการออกแบบ
•
    ขนาดของสาย UTP เมื่อวัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกควรมีขนาดน้อยกว่า 0.25 นิ้ว หรือ 6.35
    มิลลิเมตร โดยสายแต่ละเส้น ทนแรงดึงได้มากกว่า 400 นิวตัน คุณสมบัติในเรื่องการดัดโค้งของ สายมี
    รัศมีความโค้งได้เท่ากับ 1 นิ้ว ความต้านทานของสายตามมาตรฐานกาหนดไว้ โดยวัดที่ความยาว 100
    เมตร ต้องมีความต้านทานไม่เกิน 9.38 โอห์ม (ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส)
•   ตารางแสดงคุณสมบัติ SRL ของสาย UTP ที่ใช้เป็นสายแนวราบ
•   ความถี(f)
           ่
•   CAT3 (dB)
•   CAT4 (dB)
•   CAT5 (dB)
•   1-10 MHz12212310-16 MHz12-10 log(f/10)21-10 log(f/10) 23-16-20
    MHz-21-10 log(f/10) 23-20-100 MHz--23-10 log(d/20)* f คือความถี่ใช้งาน
• การครอสทอรคที่ใกล้ปลายสาย
  (NEXT - Near End Crosstalk Loss) เป็นการเหนี่ยวนาของสัญญาณจากเส้นหนึ่ง ไปยังอีก
  เส้นหนึ่งมีลักษณะที่สัญญาณเหมือนกับสัญญาณวิ่งเข้าหากัน NEXT มีค่าไปตามสูตร
• NEXT (f)>= NEXT(0.772)-15 log(f/0.772)
• * ค่าของการเหนี่ยวนาให้เกิดการครอสทอร์คนี้จะมีขนาดลดลงเมื่อความถี่สูงขึ้น
• ข้อดีของสาย์UTP
  - ราคาถูก
  - ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา
  - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก
   ข้อเสียของสาย์UTP
   - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตาม
   ความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded
                   Twisted Pair)
• สายสัญญาณ STP มีการนาสายคู่พันเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิ่มฉนวนป้องกัน
  สัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวน
  จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) และเป็น
  สายสัญญาณที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กันสัญญาณ
  รบกวนเพื่อทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น คุณลักษณะของสาย
  STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบั่นทอนครอสทอร์ก
• ข้อดีของสาย์STP
  - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
  - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ
   ข้อเสียของสาย์STP
   - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
   - ราคาแพงกว่าสาย UTP
คำถำม
• 1.สายคู่บิดเกลียวแบ่งเป็นกีประเภท
                             ่
   ตอบ:แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
       แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)


 2.UTP ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภทโดยแต่ละประเภท
 เรียกว่าอะไร
   ตอบ: Category N
3.จงบอกข้อดีของสาย UTP
ตอบ: ราคาถูก
- ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก

More Related Content

สายคู่บิึϹกลียว(ชุติกาญจȨ+อิสรีย์)406

  • 1. Ȩ๶สนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1. น.ส. ชุติกำญจน์ วงษ์อุบล ม.4/6 เลขที่1 2. น.ส. อิสรีย์ ยุ้นพันธ์ ม.4/6 เลขที่8
  • 2. สำยคูบิดเกลียว (Twisted Pair Wire) ่ • เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ทั่วไป รวมทั้งตามสานักงานต่างๆ สายชนิดนี้เป็นสายลวดทองแดงสองเส้น นามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเพื่อทาให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือนเกราะสาหรับ ป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จานวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียว ถ้า จานวนรอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็กมีกาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดี ขึ้น แต่ก็ทาให้สิ้นเปลืองสายมากขึ้น แต่ถ้าจานวนรอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้ จึงมีคุณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสายที่ไม่มีการ พันเกลียวเลยบริเวณ แกน (Core) ของสายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือหลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้วนามาพัน เกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งรวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียง สายเดียว สายคู่บดเกลียวแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ ิ • แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) • แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
  • 3. สำยคู่บิดเกลียวแบบไม่มฉนวนหุม (UTP : Unshielded ี ้ Twisted Pair) • สาย UTP ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กาหนด สาหรับ สายประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มี จานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คูสายในสายคู่ตีเกลียวไม่หุ้มฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มี ่ หลายเส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสีแตกต่างกัน และตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) มีราคาถูกและติดตั้งได้ง่าย
  • 4. สำยคู่บิดเกลียวแบบไม่มฉนวนหุม (UTP : Unshielded ี ้ Twisted Pair • สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จานวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย • เขียว - ขาวเขียว • ส้ม - ขาวส้ม • น้าเงิน - ขาวน้าเงิน • น้าตาล - ขาวน้าตาล
  • 5. มาตรฐานสายสัญญาณ • มาตรฐานสายสัญญาณ สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EIA (Electronics Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม หรือ TIA (Telecommunication Industries Association) ได้กาหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐาน ที่ใช้ในการผลิตสาย UTP ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภท โดยแต่ละประเภทเรียกว่า Category N โดย N คือหมายเลขที่บอก ประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ (International Organization for Standardization) ได้กาหนดมาตรฐานนี้ เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F คุณสมบัติทั่วไป ของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้
  • 6. มาตรฐานสายสัญญาณ(ต่อ) • Category 1/Class A : เป็นสายที่ใช้ในระบบโทรศัพท์ างเดียว อย่ • Category 2/Class B : เป็นสายที่รองรับแบนด์วิธได้ถึง 4 MHz ซึ่งทาให้สามารถส่งข้อมูลแบบ ดิจิตอล ได้ถึง 4 MHz ซึ่งจะประกอบด้วยสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่ • Category 3/Class C : เป็นสายที่สามารถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่ • Category 4 : ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่ • Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps และมีสายคู่บิดเกลียวอยู่ 4 คู่ • Category 5 Enhanced (5e) : มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคุณภาพของสายที่ ดีกว่า เพื่อรองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1,000 Mbps ซึ่งใช้4 คู่สาย • Category 6/Class E : ส่งข้อมูลได้ถึง 10,000 Mbps รองรับแบนด์วิธได้ถึง 250 MHz • Category 7/Class F : รองรบแบนด์วิธได้ถึง 600 MHz และกาลังอยู่ในระหว่างการวิจัย • สาย UTP CAT3 นิยมใช้กับเครือข่าย LAN ตามมาตรฐาน IEEE 802.3 ทางานที่ความเร็ว 10 Mbps โดยในการใช้งานจริง จะใช้เพียงสองคู่เท่านั้น ได้แก่คู่สีส้มและสีเขียว แต่ในมาตรฐาน 1000 Mbps นั้น การรับส่งข้อมูลภายในสายสัญญาณ จะใช้ครบทั้งสี่คู่
  • 7. ปัจจัยที่ใช้กาหนดคุณภาพของสายสัญญาณ • ผู้ผลิตสาย UTP แต่ละ Category ต้องผลิตสายสัญญาณให้ได้คุณภาพขั้นต่า ตามที่กาหนดไว้ในมาตรฐาน ANSI/EIA/TIA-568-B (568-B.2 (Category 5e) และ 568.B.2-1 (category 6)) ซึ่งกาหนดค่าต่าง ๆ ในสาย UTP ดังนี้ Parameter dB CAT5 CAT5e CAT6 Minimum • Parameter dB Frequency (สูงสุด) 100 MHz 100 MHz 250 MHz Attenuation (สูงสุด) 24 dB 24 dB 36 dB • CAT5 NEXT (ต่าสุด) PS-NEXT(ต่าสุด) 27.1 dB N/A 30.1 dB 27.1 dB 33.1 dB 33.2 dB ELFEXT(ต่าสุด) 17 dB 17.4 dB 17.3 dB • CAT5e PS-ELFEXT(ต่าสุด) ACR(ต่าสุด) 14.4 dB 3.1 dB 14.4 dB 6.1 dB 12.3 dB -2.9 dB • PS-ACR(ต่าสุด) CAT6 N/B 3.1 dB -5.8 dB Return Loss( ต่าสุด) 8 dB 10 dB 8 dB Propagation Delay (สูงสุด) 548 nsec 548 nsec 546 nsec Delay Skew (สูงสุด) 50 nsec 50 nsec 50 nsec
  • 8. อัตราการบั่นทอนของสาย • การบันทอนสัญญาณของสาย UTP ขึ้นอยู่กบความถีที่ใช้งานถ้าการ ่ ั ่ บั่นทอนคือค่าที่ทาให้สัญญาณลดต่าลง ซึ่งค่าบั่นทอนนีขึ้นอยูกับ ้ ่ ความถี่ที่ใช้งานโดยวัดที่ความยาวสาย 100 เมตร ตามมาตรฐานวัดที่ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสซึ่งปกติค่าคงที่ที่วัดได้ควรจะได้น้อยกว่า ค่าที่คานวณได้จากสูตร • อัตราการบั่นทอน (f) <= k1 sqrt(f)+k2f+k3/sqrt(f) • * ค่าความถี่ f มีค่าจาก 0.772 MHz จนถึงค่าความถี่สูงสุดของ ข้อกาหนดของสายแต่ละชนิด
  • 9. คุณสมบัติของสาย UTP ที่ใช้ในการออกแบบ • ขนาดของสาย UTP เมื่อวัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกควรมีขนาดน้อยกว่า 0.25 นิ้ว หรือ 6.35 มิลลิเมตร โดยสายแต่ละเส้น ทนแรงดึงได้มากกว่า 400 นิวตัน คุณสมบัติในเรื่องการดัดโค้งของ สายมี รัศมีความโค้งได้เท่ากับ 1 นิ้ว ความต้านทานของสายตามมาตรฐานกาหนดไว้ โดยวัดที่ความยาว 100 เมตร ต้องมีความต้านทานไม่เกิน 9.38 โอห์ม (ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส) • ตารางแสดงคุณสมบัติ SRL ของสาย UTP ที่ใช้เป็นสายแนวราบ • ความถี(f) ่ • CAT3 (dB) • CAT4 (dB) • CAT5 (dB) • 1-10 MHz12212310-16 MHz12-10 log(f/10)21-10 log(f/10) 23-16-20 MHz-21-10 log(f/10) 23-20-100 MHz--23-10 log(d/20)* f คือความถี่ใช้งาน
  • 10. • การครอสทอรคที่ใกล้ปลายสาย (NEXT - Near End Crosstalk Loss) เป็นการเหนี่ยวนาของสัญญาณจากเส้นหนึ่ง ไปยังอีก เส้นหนึ่งมีลักษณะที่สัญญาณเหมือนกับสัญญาณวิ่งเข้าหากัน NEXT มีค่าไปตามสูตร • NEXT (f)>= NEXT(0.772)-15 log(f/0.772) • * ค่าของการเหนี่ยวนาให้เกิดการครอสทอร์คนี้จะมีขนาดลดลงเมื่อความถี่สูงขึ้น • ข้อดีของสาย์UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก ข้อเสียของสาย์UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตาม ความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
  • 11. สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair) • สายสัญญาณ STP มีการนาสายคู่พันเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิ่มฉนวนป้องกัน สัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้จะมีคุณสมบัติเป็นเกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวน จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้ว่า ชิลด์ (Shield) และเป็น สายสัญญาณที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กันสัญญาณ รบกวนเพื่อทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น คุณลักษณะของสาย STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบั่นทอนครอสทอร์ก • ข้อดีของสาย์STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ ข้อเสียของสาย์STP - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก - ราคาแพงกว่าสาย UTP
  • 12. คำถำม • 1.สายคู่บิดเกลียวแบ่งเป็นกีประเภท ่ ตอบ:แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair) 2.UTP ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภทโดยแต่ละประเภท เรียกว่าอะไร ตอบ: Category N
  • 13. 3.จงบอกข้อดีของสาย UTP ตอบ: ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก