ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
ทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
การประมาณค่า 
การหารทศนิยม 
การคูณทศȨยม 
เศษส่วน
อัตราส่วȨละกราฟ
๶ส้Ȩั้งฉากและเส้ȨȨน 
รูปสี่เหลี่ยมต่างๆ 
มุมྺองรูปต่างๆ 
วงกลม
พื้นที่ྺองรูปต่างๆ
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
จะแสดงด้วยทศนิยมได้อย่างไร 
ระบบทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
จานวนบวกคู่และจานวนคี่ 
การบวกและการลบทศนิยม 
ลองคิดโดยใช้บัตรตัวเลข
ลองเทน้า 1 ลิตร ลงในกาน้า 
โดยห้ามใช้การวัด แล้วดูว่าใครเทน้า ได้ใกล้เคียง 1 ลิตรมากที่สุด
ปริมาตรน้าของยะซุชิ และ ฮิโระโกะ 
เอ๊ะ ! แล้วปริมาตรน้า 
ของยูซะชิ และ ฮิโระโกะ 
จะแสดงด้วยทศนิยมได้ยังไง ?
เขียนปริมาตรน้าของฮิโรโกะโดยใช้หน่วยเป็นลิตร 
จะแสดงด้วยทศนิยมอย่างไร 
วัดส่วนที่เกิน 1 ลิตร โดยใช้ 0.1 ลิตร ในการวัด 
จะเห็นว่า มีปริมาตรน้้าที่น้อยว่า 0.1 ลิตร 
แล้วเราจะแสดงปริมาตรนี้อย่างไร ?
วัดปริมาตรที่น้อยกว่า 0.1 ลิตร โดยการแบ่ง 0.1 ลิตร เป็น 10 ส่วนเท่าๆกัน 
จะแสดงด้วยทศนิยมอย่างไร 
วิธีอธิบายปริมาณที่น้อยกว่า 0.1
วิธีอธิบายปริมาณที่น้อยกว่า 0.01 
จะแสดงด้วยทศนิยมอย่างไร 
วัดปริมาตรที่น้อยกว่า 0.01 ลิตร โดยการแบ่ง 0.01 ลิตร เป็น 10 ส่วนเท่าๆกัน
สรุป 
จะแสดงด้วยทศนิยมอย่างไร
ความสัมพันธ์ระหว่าง 1 , 0.1 , 0.01 และ 0.001 
จะแสดงด้วยทศนิยมอย่างไร
ระบบทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบจานวน
ระบบทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบจานวน
ความเหมือนของการคานวณ จานวนนับกับศูนย์ และทศนิยม 
ระบบทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
เทคนิค 
การค้านวณ
10 เท่า และ 100 เท่าของจานวน 
ระบบทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
ퟏ ퟏퟎ และ ퟏ ퟏퟎퟎ ของจานวน
จานวนคู่และจานวนคี่ 
การแบ่งกลุ่มจานวนนับกับศูนย์ 
จ้านวนคู่ 
จ้านวนคี่
การบวก 
การลบ
คณิตศาสตร์ป.5
การคานวณหาจานวนใดๆ โดยใช้จานวนปัดเศษ เรียกว่า “ การประมาณค่า” 
แนวคิด 
ปัญหา
การคูณทศȨยม
ลวดยาว 1 m มีน้าหนัก 2.3 g ถ้า ลวดยาว 4 m จะมีน้าหนักกี่กรัม
ซึ่งนอกจากที่กล่าวมา เรายัง สามารถหาคาตอบได้อีกวิธีหนึ่ง คือ
ริบบิ้นยาว 1 m ราคา 80 เยน ถ้าริบบิ้นยาว m จะมีราคาเท่าไร
มีแนวคิดอื่นอีกไหม
เรามาลองคานวณ 80 x 2.4 ใน แนวตั้งกันนะครับ...
แท่งเหล็ก 1 m มีน้าหนัก 2.1 kg ถ้า แท่งเหล็กยาว x m จะมีน้าหนักกี่ kg
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
แถบกระดาษยาว 5.7 m ถ้าเราตัดแบ่งให้เด็ก 3 คน ให้ได้ความยาวเท่าๆ กัน เด็กแต่ละคนจะได้ แถบกระดาษ ยาวคนละกี่เมตร
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คิดวิธีการหาคาตอบ 320 ÷ 1.6 
ถ้าเรารู้ราคาของน้าส้ม 0.1 l เรา สามารถคานวณราคาของน้าส้ม 1 l ได้ 
เราสามารถใช้กฎการหารได้
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
แท่งเหล็กยาว 3.6 m และหนัก 7.2 kg แท่งเหล็กยาว 1 m จะหนักกี่ kg
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
เศษส่วน 
1. เศษส่วนที่สมมูลกัน 
2. การบวกและการลบเศษส่วน 
3. เศษส่วน ทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์
การนาเสนอ 
เรื่อง...เศษส่วนที่สมมูลกัน 
ใช้การเทน้าส้มลงในถ้วยตวง 
ที่มีรอยขีดแสดงเศษส่วน 
หาต้าแหน่งที่แสดงปริมาตร
เรื่อง...เศษส่วนที่สมมูลกัน 
ใช้เส้นจานวน 
การนาเสนอ
เรื่อง...การบวกและการลบเศษส่วน 
ยกตัวอย่างเรื่องที่เกี่ยวข้องใน ชีวิตประจาวัน และใช้การวาดรูป 
การนาเสนอ
เรื่อง...เศษส่วน ทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
ผลหารจากการหาร และเศษส่วน 
วิธีคิด 
การนาเสนอ 
ใช้การวาดรูป 
เพื่อแสดง ความสัมพันธ์การหาร กับเศษส่วน
เรื่อง...เศษส่วน ทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์ 
ตัวสรุป 
อธิบายโดยการ 
ใช้เส้นจานวน 
เปรียบเทียบให้เห็น ภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
การนาเสนอ 
ใช้เส้นจานวน 
เพื่อแสดงความสัมพันธ์ เศษส่วน ทศนิยม จ้านวนนับกับศูนย์ 
เรื่อง...เศษส่วน ทศนิยมและจานวนนับกับศูนย์
จ้านวนนับกับศูนย์สามารถแสดงในรูปเศษส่วนได้ 
ไม่ว่าจะเลือกจ้านวนใดก็ตามให้เป็นตัวส่วน 
จ้าวนวนนับกับศูนย์ ทศนิยม และเศษส่วนสามารถ 
เขียนแสดงบนเส้นจ้านวนเดียวกันได้ซึ่งท้าให้ง่ายใน 
การเปรียบเทียบจ้านวน 
ตัวสรุปเรื่อง
 ฝึกทักษะ 
 เราสามารถคานวณจานวนคละได้หรือไม่ 
 แบบฝึกหัดท้ายบท 
 ทาได้ไหมนะ? 
 ทบทวน 2
รูปเหลี่ยมต่างๆ
กิจกรรมที่น่าสนใจเกี่ยวกับ “รูปเหลี่ยมต่างๆ” 
กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนวาดเส้น 4 เส้นลงบนกระดาษที่ก้าหนดให้ เพื่อ สร้างรูปเหลี่ยมต่างๆ
จากกิจกรรมที่ 1 นักเรียนก็จะวาดเส้นตรงเชื่อมจุดต่างๆ ทั้งหมด 4 เส้น โดยจะได้เส้นตัดกัน และออกมาในรูปแบบต่างๆ
ให้นักเรียนสังเกตเส้นคู่ที่ขนานกัน ในรูปสี่เหลี่ยมที่นักเรียนสร้างขึ้น จากนั้น ให้นักเรียนจัดกลุ่มรูปสี่เหลี่ยมตามรูปร่าง 
เกิดรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ และนักเรียนจะได้ทราบถึงลักษณะของรูปสี่เหลี่ยม ชนิดนั้นด้วย
รูปสี่๶หลี่ยมคางหมู
รูปสี่๶หลี่ยมึϹานขนาน
รูปสี่๶หลี่ยมขนมเปียกปูน
กิจกรรมที่ 2 เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม 
ให้นักเรียนลากเส้นเชื่อมจุดยอดมุมที่อยู่ตรงข้ามกัน ของรูปสี่เหลี่ยมที่ ก้าหนดต่อไปนี้
จากกิจกรรม สามารถสรุปลักษณะของเส้นทแยงมุมได้ดังนี้ 
จากนั้นให้นักเรียนจับคู่รูปสี่เหลี่ยมที่มีลักษณะต่อไปนี้
กิจกรรมที่ 3 แบบรูปต่อเนื่องที่ไม่มีช่องว่าง 
ให้นักเรียนสร้างแบบรูปต่อเนื่องโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมที่ได้จากกิจกรรมที่ 1 ( รูปสี่๶หลี่ยมคางหมู รูปสี่๶หลี่ยมึϹานขนาน และรูปสี่๶หลี่ยมขนมเปียกปูน ) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้รูปที่มีขนาดเท่ากัน และรูปร่างเหมือนกัน
ให้นักเรียนหาสิ่งของหรือสถานที่ ที่มีแบบรูปต่อเนื่องที่ไม่มีช่องว่าง 
จะท้าให้นักเรียนสามารถมองเห็นการน้าเอารูปเหลี่ยมชนิดต่างๆ มา สร้างสรรค์กลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ 
ในชีวิตประจ้าวัน เช่น ในไทย 
ก็จะมี อิฐบล็อคปูพื้นรูปหลากหลายรูปแบบ
การนาเสนอที่เกิดจากการทากิจกรรม 
1.วาดเส้น 4 เส้นลงบนกระดาษที่ก้าหนดให้ เพื่อสร้าง รูปเหลี่ยมต่างๆ 
2.ลากเส้นเชื่อมจุดยอดมุมที่อยู่ตรงข้ามกัน ของรูปสี่เหลี่ยม เพื่อสร้าง เส้นทแยงมุม 
3.ใช้รูปสี่๶หลี่ยมคางหมู รูปสี่๶หลี่ยมึϹานขนาน และรูป สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน อย่างใดอย่างหนึ่งน้ามาเรียงต่อกัน เพื่อสร้าง แบบรูปต่อเนื่องที่ไม่มีช่องว่าง
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
วิธีการ (How to) หาสูตรพื้นที่รูปสี่๶หลี่ยมึϹานขนาน ? 
ความสูง 
ฐาน
แนวคิดของอากิระ
แนวคิดของคาโอรุ 
ความสูง 
ฐาน 
จะได้ว่า พท.□ด้านขนาน = พท.□ผืนผ้า = ฐาน × สูง
แนวคิดของยูอิจิ 
จะได้ว่า พท.□ด้านขนาน = พท.□ผืนผ้า = ฐาน × สูง
วิธีการ (How to) หาสูตรพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม? 
ความสูง 
ฐาน
พท.ΔABC = พท.□BCHD = (AC/2)×BC = (สูง/2)×ฐาน 
สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = ½ × ฐาน ×สูง
พท.ΔABC = พท.□BCFD = BC × (AG/2) = ฐาน × (สูง/2) 
สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = ½ × ฐาน ×สูง
พท.ΔABC = พท.□BCED/2 = (AF×BC)/2= (ฐาน × สูง)/2 
สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = ½ × ฐาน ×สูง
พท.ΔABC = พท.□ABCD/2 = (ฐาน × สูง)/2 
สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = ½ × ฐาน ×สูง
พท.Δ= พท.□ด้านขนาน/2 = (ฐาน×สูง)/2 = (BC × AD)/2 = (8×10)/2 = 40 ตร.ซม.
พท.Δใดๆ = พท.ΔมุมฉากABD – พท.ΔมุมฉากACD = (½ × BD × AD) – ( ½ × CD × AD) = (½ × (BC+CD) × AD) – ( ½ × CD × AD) = (½ × (8+4) × 10) – ( ½ × 4 × 10) = 40 ตร.ซม.
1 
2 
พท.ของรูปสี่เหลี่ยมใดๆ = พท.ของรูปสามเหลี่ยม (รูปที่1) + พท.ของรูปสามเหลี่ยม (รูปที่2)
คณิตศาสตร์ป.5
พท.□ ด้านขนาน 
ฐาน 
สูง 
9 
12 
15 
18 
15 
30 
45 
60 
75 
90
จะได้ว่า เมื่อความสูงคงที่ พื้นที่ของ สี่เหลี่ยมด้านขนานจะเพิ่มขึ้นตามจานวน เท่าของความยาวฐานที่เพิ่มขึ้น 
2 เท่า 
3 เท่า
วงกลม 
เส้นผ่านศูนย์กลางและเส้นรอบวง 
พื้นที่ของรูปวงกลม
ตัดแผ่นกระดาษแข็งเพื่อทาแผ่นวงกลม ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 10 เซนติเมตร 20 เซนติเมตร และ 30 เซนติเมตร เมื่อสร้างเสร็จให้ลองหมุนวงกลมไปจนครบหนึ่งรอบ และสังเกต ระยะทางที่เกิดขึ้นจากการหมุนวงกลมนั้น 
b 
c 
a 
กิจกรรมที่ 1 เส้นผ่านศูนย์กลางและเส้นรอบวง 
ให้นักเรียนสนทนากันว่าระยะทางที่ เกิดขึ้นจากการหมุนของวงกลมแต่ละวง ครบ 1 รอบ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
กิจกรรมที่ 2 การหาความสัมพันธ์ระหว่างเส้นรอบวงและเส้นผ่านศูนย์กลาง 
ประมาณค่าว่าเส้นรอบวงเป็นกี่เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยการประมาณค่าใกล้เคียง โดยปัดหลักร้อยเป็นหลักพัน 
หาวิธีการที่จะวัดความยาวเส้นรอบวงและเส้นผ่านศูนย์กลาง
เมื่อ เส้นรอบวง ÷ เส้นผ่านศูนย์กลาง จะได้ผลหารเป็นจานวนเดียวกันสาหรับวงกลมทุกขนาด เรียกว่า อัตราส่วนของเส้นรอบวง 
อัตราส่วนของเส้นรอบวง คือ 3.14159… และเป็นทศนิยมไม่รู้จบ เรามักใช้ 3.14 ในการคานวณ
กิจกรรมที่ 3 พื้นที่รูปวงกลม 
รูปวงกลมที่มีรัศมี 10 เซนติเมตร จะมีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร 
 ตรวจคาตอบโดยการวาดรูปวงกลมลงในกระดาษกราฟที่มีสเกล 1 cm 
รูปสี่เหลี่ยมสีน้าเงิน x 1 ตร.ซม. รูปสี่เหลี่ยมสีแดง x 0.5 ตร.ซม. 
ถ้าคิดว่ารูปสี่เหลี่ยมสีแดงที่อยู่ตามเส้นรอบวงมี ขนาดประมาณ 0.5 ตารางเซนติเมตร พื้นที่เศษ หนึ่งส่วนสี่ของวงกลมจะมีพื้นที่เท่าไร ?
กิจกรรรมที่ 4 วิธีการคานวณหาพื้นที่รูปวงกลม
แนวคิดของ อากิโกะ 
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ยาว x กว้าง พื้นที่ของรูปวงกลม = x เส้นรอบวง ÷ 2 = รัศมี x เส้นผ่านศูนย์กลาง x 3.14 ÷ 2 = รัศมี x เส้นผ่านศูนย์กลาง ÷ 2 x 3.14 = รัศมี x x 3.14
แนวคิดของ ยาสุโกะ 
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = ฐาน x สูง ÷ 2 พื้นที่ของรูปวงกลม = เส้นรอบวง ÷ 4 x รัศมี x 4 ÷ 2 = เส้นผ่านศูนย์กลาง x 3.14 x รัศมี ÷ 2 = x 2 x 3.14 x รัศมี ÷ 2 =
แนวคิดของ ทาคาโอะ 
พื้นที่รูปสามเหลี่ยม = ฐาน x สูง ÷ 2 พื้นที่ของรูปวงกลม = เส้นรอบวง x รัศมี ÷ 2 = เส้นผ่านศูนย์กลาง x 3.14 x รัศมี ÷ 2 = x 2 x 3.14 x รัศมี ÷ 2 =
มุมྺองรูปต่างๆ
กิจกรรมที่ 5 มุมของรูปสามเหลี่ยม 
 สังเกตผลรวมของมุมสามมุมของรูปสามเหลี่ยมด้วยวิธีที่หลากหลาย 
1.วาดรูปสามเหลี่ยมและวัดมุม ด้วยโปรแทรคเตอร์ 
2.ตัดมุม 3 มุมแล้วนามาวางติดกัน ดังรูป
3.วางรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน มาสร้างแบบรูปต่อเนื่องแบบ ไม่มีช่องว่าง 
เมื่อมุม 3 มุมที่จุด A และ B เรียงติดกันเป็นเส้นตรง ผลรวมของมุม คือ องศา 
4.พับมุมของรูปสามเหลี่ยมทั้ง 3 มุมให้มาเชื่อมต่อกัน ดังรูป 
เมื่อมุม 3 มุมเรียงติดกันเป็นเส้นตรง ผลรวมของมุม คือ องศา
ผลรวมของมุม 3 มุม ของรูปสามเหลี่ยม คือ 180 องศา
กิจกรรมที่ 6 มุมของรูปสี่เหลี่ยม 
ใช้วิธีที่หลากหลายเพื่อตรวจสอบผลรวมของมุม 4 มุมของรูปสี่เหลี่ยม ABCD 
1.วัดขนาดของมุมด้วยโพรแทรคเตอร์ 
2.คิดเกี่ยวกับรูปนี้โดยแบ่งรูปสี่เหลี่ยมออกเป็นสามเหลี่ยม 2 รูป
3.คิดเกี่ยวกับรูปนี้โดยการวางรูปสี่เหลี่ยมที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากันมาวาง เรียงติดกัน 
ผลรวมของมุม 4 มุม ของรูปสี่เหลี่ยมใดๆคือ 360 องศา 
จากกิจกรรมจะสรุปได้ว่า
๶ส้Ȩั้งฉากและเส้ȨȨน
กิจกรรมที่น่าสนใจเกี่ยวกับ “เส้นตั้งฉาก” 
กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนวาดถนนสองสายลงบนแผนที่ด้านล่างนี้ โดยใช้เส้นตรง และสถานีรถไฟอยู่ใจกลางเมือง
 จากกิจกรรมที่ 1 นักเรียนก็จะวาดเส้นตรงเชื่อมจุดต่างๆ โดยจะมีเส้นตรงที่ ผ่านจุดที่เป็นสถานีรถไฟ 
 จากนั้นก็เริ่มค้าถามว่า “เส้นตรงที่วาดลงไปทั้งสองเส้นตัดกัน ท้าให้เกิด กับ มีขนาดกี่องศา”
 ตั้งค้าถามเสร็จ ก็น้าเสนอสาระที่ได้จากกิจกรรมนี้ 
จะเห็นว่าเส้นสองเส้นใน (2) เป็น “เส้นตั้งฉาก”
กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนสร้างเส้นตั้งฉาก 
จะได้เห็นวิธีการคิดของนักเรียนในหลายๆ 
แบบเช่น ในรูปเป็นการสร้างเส้นตั้งฉาก 
โดยใช้ ไม้โปรแทรกเตอร์ 360 องศา
การสร้างเส้นตั้งฉาก 
โดยใช้ ไม้ฉาก
๶ป็Ȩารสร้างเส้Ȩั้งฉากที่ง่ายที่สุด
การนาเสนอที่เกิดจากการทากิจกรรม 
1.การวาดเส้นตรงเชื่อมระหว่างจุด โดยเส้นตรงนั้นตัดกัน เกิดเป็นมุมต่างๆ เพื่อสร้าง เส้นตั้งฉาก 
2.การใช้อุปกรณ์สร้าง เส้นตั้งฉาก
เส้นตั้งฉากที่พบเจอในชีวิตประจาวัน 
ภาพถ่ายทางอากาศของเมืองต่างๆที่ส้าคัญ ของญี่ปุ่น
ใช้เครื่องมือ (กระดาษ และไม้ฉากสามเหลี่ยม) ในการพิสูจȨว่าสถาȨี่ใดมี๶ส้Ȩั้งฉาก
กิจกรรมที่น่าสนใจเกี่ยวกับ “เส้นขนาน” 
กิจกรรมที่ 1 ท้าธงประจ้าห้อง โดยลากเส้นที่คล้ายกับธงที่ ก้าหนดให้ ลงบนกระดาษรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 
ธงที่กาหนดให้ 
เมื่อเส้นหนึ่งถูกวาด ไปแล้ว ให้นักเรียน วาดอีกสองเส้น
จะได้เห็นวิธีการคิดของนักเรียนในหลายๆแบบ เช่น
วิธีนี้สามารถสร้างเส้นขนาน โดยน้าการสร้างเส้นตั้งฉาก 
โดยใช้ไม้โพรแทรกเตอร์มาใช้
สาระที่ไึϹจากการท้ากิจกรรมȨ้
กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนสร้างเส้นขนาน 
สร้างเส้นขนานโดยใช้ ไม้ฉาก
สร้างเส้นขนานโดยใช้ ไม้บรรทัด ถือเป็นการสร้างโดยประยุกต์ใช้การสร้าง เส้นตั้งฉาก และสามารถน้าไปใช้ในการสร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากได้อีกด้วย
การนาเสนอที่เกิดจากการทากิจกรรม 
1.การวาดเส้นตรงลงบนกระดาษรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตามแนว ของเส้นตรงที่ก้าหนดให้ เพื่อสร้าง เส้นขนานในพื้นที่ที่จากัด 
2.การใช้อุปกรณ์ เพื่อสร้าง เส้นขนาน
กิจกรรมที่เกิดจากการสร้างเส้นตั้งฉาก และเส้นขนาน 
กิจกรรมการสร้าง “เขาวงกต” โดยใช้เส้นตั้งฉาก และเส้นขนาน
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
= 0.8 ×100
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
48 
17 
9 
13 
13
48 
17 
9 
13 
13
10 
7 
9 
21 
24 
29
10 
7 
9 
21 
24 
29 
บาดแผล 
ฟกช้า 
ถลอก 
เคล็ดขัดยอก 
นิ้วมือเคล็ด 
สาเหตุอื่นๆ
คณิตศาสตร์ป.5
สมาชิก 
นางสาวชนิศา อิฐเขตต์ 553050003-5 
นางสาวธีรญา ชูเกษ 553050081-5 
นางสาวภัทรสุดา ประสานพันธ์ 553050090-4 
นางสาวสินีนาฏ แพงคา 553050106-5 
นายธนากร พิศงาม 553050289-1 
นายศราวุธ โชคเจริญ 553050319-8 
คณิตศาสตรศึกษา ปี 3 section 2

More Related Content

คณิตศาสตร์ป.5