ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Business Research Method
100-009
วิธีการวิจัยทางธุรกิจ
[อ.นิธินพ ทองวาสนาสง]
การเลือก
ประชากรและกลุมตัวอยาง
หัวขอสําคัญในบท
2
• ประชากรและกลุมตัวอยาง
• ความคลาดเคลื่อนในการสุมตัวอยาง (Sampling Error)
• การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง
• การคํานวณขนาดกลุมตัวอยาง
• เกณฑกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
• เทคนิคการสุมตัวอยาง
ประชากร
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
กลุมตัวอยาง
ประชากรและกลุมตัวอยาง
3
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
∗ สวนหนึ่งหรือเซตยอยของประชากร
สมาชิกสมาชิก
ประชากร (Population)
• กลุมของสิ่งที่มีชีวิตหรือสิ่งที่ไมมีชีวิตที่ผูวิจัย
ตองการศึกษา ซึ่งสมาชิกแตละหนวยของประชากร
กลุมหนึ่ง ๆ จะมีลักษณะหรือคุณสมบัติบางอยาง
รวมกัน
4
ประชากรและกลุมตัวอยาง
4
Ex “สํารวจความคิดเห็นของขาราชการตอนโยบายรัฐบาล”
ประชากรคือ ...................................
“การเปรียบเทียบอายุการใชงานของเครื่องคอมฯที่ผลิตในไทย”
ประชากรคือ ...................................
ประชากรและกลุมตัวอยาง
5
ประชากร (Population)
• ประชากรที่มีจํานวนจํากัด (Finite Population) เปน
ประชากรที่สามารถนับจํานวนไดครบถวน
• ประชากรที่มีจํานวนไมจํากัด (Infinite Population)
เปนประชากรที่ไมสามารถนับจํานวนไดครบถวน หรือ
ปริมาณมากจนไมอาจนับเปนจํานวนได
6
ประชากรและกลุมตัวอยาง
6
ประเภทของประชากร
• ระบุใหแนชัดวา ประชากรนั้นรวมใครและไมรวมใครบาง
• ประชากรในการวิจัยครั้งหนึ่งๆ ไมจําเปนจะตองเปน
"คน" เทานั้น
• บางกรณีประชากรอาจหมายถึง หนวยที่รวมกันเปน
องคกร
7
ประชากรและกลุมตัวอยาง
7
ขอควรคํานึงเกี่ยวกับประชากร
ขนาดของประชากร (Population Size)
• จํานวนหนวยของการสุมตัวอยางที่อยูในประชากร
8
ประชากรและกลุมตัวอยาง
8
เนื่องจากงานวิจัยมีขอจํากัดในดานเวลา งบประมาณ ทําให
ตองเก็บขอมูลบางสวนมาศึกษา และขอมูลบางสวนของ
ประชากรก็คือกลุมตัวอยาง นั่นเอง
การเลือกกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนที่ดีของประชากรจึงเปน
สิ่งสําคัญ เพื่อสามารถวิเคราะหและสรุปผลอางอิงผลลัพธไปสู
ประชากรได
ประชากรและกลุมตัวอยาง
9
กลุมตัวอยาง (Samples)
• มีขนาดเหมาะสม : เพียงพอที่จะใชคาของตัวอยางสรุปอางอิงไปสู
ประชากรไดดวยวิธีการทางสถิติ
• สอดคลองกับวัตถุประสงค : ตัวอยางสามารถใหขอมูลครอบคลุมตาม
ปญหาการวิจัย
• ควรเปนตัวแทนที่มาจากทุกลักษณะที่เปนไปไดของประชากร : มีโอกาส
ถูกเลือกเทาๆกัน
ประชากรและกลุมตัวอยาง
10
ลักษณะตัวอยางที่ดี
• ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการสุมตัวอยาง
• ความคลาดเคลื่อนในการนําคาสถิติมาประมาณ
คาพารามิเตอร
11
ความคลาดเคลื่อนในการสุมตัวอยาง
11
• กําหนดจํานวนของกลุมตัวอยางวาจะใชจํานวนเทาใด
การใชกลุมตัวอยางจํานวนนอยจะทําใหโอกาสที่จะเกิด
ความคลาดเคลื่อนมีมาก การใชกลุมตัวอยางจํานวนมาก
จะทําใหโอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนมีนอย
12
การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง
12
ขอควรพิจารณา: การวิจัยบางประเภทไมจําเปนตองใชกลุมตัวอยาง
จํานวนมาก เชน การวิจัยเชิงทดลอง
• ใชเกณฑ
• ใชสูตรคํานวณ
• ใชตารางแสดงคํานวณ เชน ของเคร็คซีและมอรแกน
(R.V. Krejcie and D.W. Morgan) ยามาเน (Taro
Yamane) เปนตน
• ผูวิจัยตองกําหนดความคลาดเคลื่อนในการวิจัย และรู
จํานวนประชากรกอน ปกติการวิจัยทางการศึกษาจะ
กําหนดความคลาดเคลื่อนไวที่ระดับ .05
การคํานวณขนาดกลุมตัวอยาง
12
จํานวนประชากร ขนาดกลุมตัวอยาง
หลักรอย
หลักพัน
หลักหมื่น
15-30%
10-15%
5-10%
อางอิง : ดร.บุญชม ศรีสะอาด
เกณฑกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
14
ตัวอยางการคํานวณ
“การดูแลตนเองของผูปวยเบาหวาน โรงพยาบาลสุรินทร”
n = N
1 + Ne2
N = 795 คน
กําหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 95% e = .05
n = 795 = 266 คน
1 + 795(.05)2
เกณฑกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
15
เกณฑกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
16
เกณฑกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง
17
•การสุมที่ไมคํานึงถึงความนาจะเปน
•การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
เทคนิคการสุมตัวอยาง
18
การสุมไมคํานึงถึงความนาจะเปน (Non-Probability)
• แบบมีจุดมุ่งหมาย (Purposive Sampling) : สุ่มโดยใช้วิจารณญาณและ
เหตุผลของผู้วิจัย
• แบบตามสะดวก (Convenient Sampling) : สุ่มตามความสะดวกของผู้วิจัย
หรือความเหมาะสมของเหตุการณ์
• แบบลูกโซ่/หิมะ (Chain /Snowball Sampling) : ผู้วิจัยเลือกหน่วยแรก
เมื่อได้ข้อมูลแล้วให้แนะนําต่อว่าจะเลือกหน่วยใดต่อไป
• แบบโควตา(Quota Sampling) : กําหนดสัดส่วนตามคุณสมบัติ ที่ต้องการ
เทคนิคการสุมตัวอยาง
19
ขอจํากัด
• ผลการวิจัยที่ไดไมสามารถสรุปอางอิงไปสูกลุม
ประชากรทั้งหมดได
• ไมมีวิธีการทางสถิติใดที่จะมาคํานวณคาความคลาด
เคลื่อนที่เกิดจากการสุม (Sampling Error)
20
เทคนิคการสุมตัวอยาง
20
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
• การสุมตัวอยางแบบงาย (Simple Random Sampling)
• การสุมตัวอยางแบบมีระบบ (Systematic Sampling)
• การสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified Sampling)
• การสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster Sampling)
• การสุมตัวอยางแบบหลายขั้น (Multistage sampling)
21
เทคนิคการสุมตัวอยาง
21
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
• การสุมตัวอยางแบบงาย (Simple Random Sampling)
22
เทคนิคการสุมตัวอยาง
22
ประชากร
กลุมตัวอยาง
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
• การสุมตัวอยางแบบมีระบบ (Systematic Sampling)
23
เทคนิคการสุมตัวอยาง
23
ประชากร
กลุมตัวอยาง
• การสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified Sampling)
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
24
เทคนิคการสุมตัวอยาง
24
ประชากร
กลุมตัวอยาง
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
• การสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster Sampling)
25
เทคนิคการสุมตัวอยาง
25
ประชากร
กลุมตัวอยาง
• การสุมตัวอยางแบบหลายขั้น (Multistage sampling)
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
26
เทคนิคการสุมตัวอยาง
26
ประชากร
กลุมตัวอยาง
การสุมตัวอยางแบบกลุม
การสุมตัวอยางแบบกลุม
การสุมตัวอยางแบบงาย
การสุมที่คํานึงถึงความนาจะเปน
• การสุมตัวอยางแบบหลายขั้น (Multistage sampling)
27
เทคนิคการสุมตัวอยาง
27
Q&Aอาจารย นิธินพ ทองวาสนาสง
E-mail: Nitinop.inova@gmail.com
Tel: 085-352-1050

More Related Content

5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง