ݺߣ
Submit Search
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
•
0 likes
•
623 views
Maname Wispy Lbe
Follow
1 of 38
Download now
Download to read offline
More Related Content
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
1.
Presentation วันลอยกระทง ประเพณีวนลอยกระทงของแต่ ละภาค ั โดย นางสาว
นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 สาขาวิชา ออกแบบประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
2.
ประวัตความเป็ นมาของวันลอยกระทง ิ ประเพณี ลอยกระทงนั้น
ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชดว่าเริ่ มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณี น้ ี ั ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุ โขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคําแหง เรี ยกประเพณี ลอย ่ กระทงนี้วา "พิธีจองเปรียญ" หรือ "การลอยพระประทีป" และมีหลักฐานจากศิลาจารึ กหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่นไฟว่าเป็ นงานรื่ นเริ งที่ใหญ่ที่สุดของกรุ งสุ โขทัย ทําให้เชื่อกันว่างาน ดังกล่าวน่าจะเป็ นงานลอยกระทงอย่างแน่นอน ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็ นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ่ ั เจ้าอยูหว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็ นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชา เทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นาพระพุทธศาสนาเข้าไป ํ เกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารี ริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของ พระพุทธเจ้า ก่อนที่นางนพมาศ หรื อ ท้าวศรี จุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่ วงจะคิดค้นประดิษฐ์กระทง ่ ดอกบัวขึ้นเป็ นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสื อนางนพมาศที่วา
3.
"ครั้ นวันเพ็ญเดือน 12
ข้าน้อยได้กระทําโคมลอย คิดตกแต่งให้งามประหลาดกว่าโคมสนม กํานัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสี ต่าง ๆ มาประดับเป็ นรู ปกระมุทกลีบบานรับแสงจันทร์ใหญ่ ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซอนสี สลับให้เป็ นลวดลาย..." ้ เมื่อสมเด็จพระร่ วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของนางนพมาศก็ทรง พอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็ นเยียงอย่าง และให้จดประเพณี ลอยกระทงขึ้นเป็ นประจําทุกปี ่ ั ่ โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดํารัสที่วา "ตั้ งแต่น้ ีสืบไปเบื้องหน้า โดยลําดับ กษัตริ ยในสยามประเทศถึงกาลกําหนดนักขัตฤกษ์วนเพ็ญเดือน 12 ให้ทาโคมลอยเป็ นรู ปดอกบัว ์ ั ํ อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน" พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรู ปแบบ ตั้งแต่น้ นเป็ นต้นมา ั ประเพณี ลอยกระทงสื บต่อกันเรื่ อยมา จนถึงกรุ งรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3 พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางนิยมประดิษฐ์กระทงใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงินจํานวนมาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่ า เป็ นการสิ้นเปลือง จึงโปรดให้ ยกเลิกการประดิษฐ์ กระทงใหญ่ แข่ งขัน และโปรดให้ พระบรมวงศานุ วงศ์ ทาเรือลอยประทีปถวายองค์ ละลําแทนกระทงใหญ่ และเรียกชื่อว่ า "เรือลอยประทีป" ต่อมาใน ํ รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟื้ นฟูพระราชพิธีน้ ีข้ ึนมาอีกครั้ง ปั จจุบนการลอยพระประทีป ั ่ ั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงกระทําเป็ นการส่ วนพระองค์ตามพระราชอัธยาศัย
4.
เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง สาเหตุที่มีประเพณี ลอยกระทงขึ้นนั้น เกิดจากความเชื่อหลาย
ๆ ประการของแต่ละท้องที่ ได้แก่ 1.เพือแสดงความสํ านึกถึงบุญคุณของแม่ นําทีให้ เราได้ อาศัยนํากิน นําใช้ ตลอดจนเป็ นการขอ ่ ้ ่ ้ ้ ขมาต่อพระแม่คงคา ที่ได้ทิ้งสิ่ งปฏิกลต่าง ๆ ลงไปในนํ้า อันเป็ นสาเหตุให้แหล่งนํ้าไม่สะอาด ู 2.เพือเป็ นการสั กการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เมื่อคราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดง ่ ธรรมโปรดในนาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่น้ านัมมทานที ซึ่งเป็ น ํ ่ แม่น้ าสายหนึ่งอยูในแคว้นทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปั จจุบนเรี ยกว่าแม่น้ าเนรพุทท ํ ั ํ 3.เพือเป็ นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรี ยบเหมือนการลอยความทุกข์ ความ ่ โศกเศร้า โรคภัยไข้เจ็บ และสิ่ งไม่ดีต่าง ๆ ให้ลอยตามแม่น้ าไปกับกระทง คล้ายกับพิธีลอยบาปของ ํ พราหมณ์
5.
4.เพือเป็ นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ
ซึ่งบําเพ็ญ ่ ่ เพียรบริ กรรมคาถาอยูในท้องทะเลลึกหรื อสะดือทะเล โดยมีตานานเล่าว่าพระ ํ อุปคุตเป็ นพระมหาเถระรู ปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถปราบพญามารได้ 5.เพือรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มให้ สูญหายไปตามกาลเวลา และยัง ่ ิ เป็ นการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ 6.เพือความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทงเป็ นการนัดพบปะสังสรรค์ ่ กันในหมู่ผไปร่ วมงาน ู้ 7.เพือส่ งเสริมงานฝี มือและความคิดสร้ างสรรค์ เพราะเมื่อมีเทศกาลลอย ่ กระทง มักจะมีการประกวดกระทงแข่งกัน ทําให้ผเู้ ข้าร่ วมได้เกิดความคิด แปลกใหม่ และยังรักษาภูมิปัญญาพื้นบ้านไว้อีกด้วย
6.
ประเพณีลอยกระทงในแต่ ละภาค ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเหนือ จะเรี
ยกประเพณี ลอยกระทงว่า "ยีเ่ ป็ ง" อันหมายถึงการทําบุญในวัน เพ็ญเดือนยี่ (เดือนยีถานับตามล้านนาจะตรงกับเดือนสิ บสองในแบบไทย) โดยชาวเหนือ ่ ้ จะนิยมประดิษฐ์โคมลอย หรื อที่เรี ยกว่า "ว่าวฮม" หรื อ "ว่าวควัน" โดยการใช้ผาบางๆ ้ แล้วสุ มควันข้างใต้ ให้โคมลอยขึ้นไปในอากาศ เพื่อเป็ นการบูชาพระอุปคุตต์ ซึ่งเชื่อกัน ่ ว่าท่านบําเพ็ญบริ กรรมคาถาอยูในท้องทะเลลึก หรื อสะดือทะเล ตรงกับคติของชาวพม่า
11.
จังหวัดตาก ประเพณี สาย ไหลประทีปพันดวง
หรื อ การลอยกระทงสาย ถือเป็ น ประเพณี ของ ชาวเมืองตากที่นาวิถีชีวตของบรรพชนมาผสมผสานเข้ากับความเชื่อ และหลัก ํ ิ ่ ศาสนา ชาวเมืองตากจะมีถ่ินอาศัยอยูบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ ง วิถีชีวตของชาวตากจึงมีความ ํ ิ ผูกพันกับสายนํ้าที่เปรี ยบเสมือนสายโลหิ ตที่หล่อ เลี้ยงชาวเมืองตากมานานหลายชัวอายุคน ่ ก่อให้เกิดประเพณี ที่แสดงออกถึงความกตัญ�ูในคืนวันเพ็ญเดือนสิ บสองชาวเมืองตากได้ จัดให้มีการขึ้น ประเพณี สาย ไหลประทีปพันดวง เกิดจากการร่ วมมือร่ วมใจของชาวบ้าน ในหมู่บานเป็ นความเชื่อในการจัดทํากระทงนําไปลอย เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของ ้ พระพุทธเจ้า อีกทั้งยังเป็ นการลอยทุกข์โศกโรคภัยให้พนไปจากตนเอง และขอขมาที่ได้ ้ อาศัยแม่น้ าและทิ้งของเสี ย ถ่ายเทสิ่ งปฏิกลลงแม่น้ าปิ ง ํ ู ํ
16.
จังหวัดสุ โขทัย เป็ นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีชื่อเสี
ยงในเรื่ องประเพณี ลอยกระทง ด้วยความเป็ นจังหวัดต้น กําเนิดของประเพณี น้ ี โดยการจัดงาน ลอยกระทงเผาเทียนเล่ นไฟ ที่จงหวัดสุ โขทัยถูกฟื้ นฟู ั กลับมาอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ.2520 ซึ่งจําลองบรรยากาศงานมาจากงานลอยกระทงสมัยกรุ ง สุ โขทัย และหลังจากนั้นก็มีการจัดงานลอยกระทงเผาเทียนเล่นไฟขึ้นที่จงหวัดสุ โขทัยทุก ๆ ั ปี มีท้ งการจัดขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล และไฟพะเนียง ั
20.
ประเพณีลอยกระทงภาคอีสาน จังหวัดนครพนม จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรื อแล้วประดับไฟ
เป็ นรู ปต่างๆ เรี ยกว่า “ไหลเรื อไฟ “โดยเฉพาะที่จงหวัดนครพนม เพราะมีความงดงามและอลังการที่สุด ั ในภาคอีสาน
25.
ประเพณีลอยกระทงภาคกลาง การลอยกระทงของภาคกลางซึ่ งเป็ นที่มาของการลอยกระทงที่นิยมปฏิบติกนทั้งประเทศ ั
ั นั้น มีหลักฐานว่าในสมัยกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานีมีพระราชพิธี “จองเปรี ยงลดชุดลอยโคม” ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์เรี ยกพิธีน้ ีวา “ลอยพระประทีปกระทง” เนื่องจากโปรด ให้ทาเป็ นกระทงใหญ่ บนแพหยวกกล้วย ตกแต่งอย่างวิจิตรพิศดารประกวดประชันกัน แต่ใน ํ รัชกาลต่อมาก็โปรดให้เปลี่ยนกลับเป็ นเรื อลอยพระประทีปแบบสมัยอยุธยา ในสมัยพระสมเด็จ ่ ั พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ ๖ โปรดให้เลิก พิธีน้ ีเสี ยเพราะเห็นว่าเป็ นการสิ้ นเปลือง กระทงของภาคกลางมี ๒ ประเภทคือ กระทงแบบพุทธ เป็ นกระทงที่ประดิษฐ์ดวยวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง ใบกระบือ ก้านพลับพลึง ใบโกศล หรื อ ้ ่ วัสดุธรรมชาติที่หาได้ตามท้องถิ่นและประดับด้วยดอกไม้สดต่างๆ ภายในกระทงจะตั้งพุมทอง ่ น้อย ถ้ากระทงใหญ่จะใช้ ๓ พุม กระทงเล็กใช้พมเดียวและธูปไม้ระกํา ๑ ดอก เทียน ๑ เล่ม และ ุ่ วัสดุต่างๆตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น กระทงแบบพราหมณ์ วิธีการทําเช่นเดียวกับการทํากระทงแบบพุทธ จะแตกต่างกัน คือไม่ มีเครื่ องทองน้อย บางท้องถิ่น จะมีการใส่ หมากพลู เงินเหรี ยญ หรื อตัดเส้นผมเล็บมือ เล็บเท้า เพื่อเป็ นการสะเดาะเคราะห์ไปใน ตัว เป็ นพิธีความเชื่อของผูที่นบถือศาสนาพรามณ์ ้ ั
30.
ประเพณีลอยกระทงของภาคใต้ การลอยกระทงของชาวใต้ส่วนใหญ่นาเอาหยวกมาทําเป็ นแพบรรจุเครื่ องอาหาร ํ ํ แล้วลอยไปแต่มีขอน่าสังเกตคือ
การลอยกระทงทางภาคใต้ ไม่ มีกาหนดว่าเป็ น ้ กลางเดือน ๑๒ หรื อเดือน ๑๑ ดังกล่าวแล้ว แต่จะลอยเมื่อมีโรคภัยไข้เจ็บ เพื่อให้หาย โรคภัยไข้เจ็บที่ตนเป็ นอยู่ เป็ นการลอยเพื่อสะเดาะเคราะห์การตกแต่งเรื อหรื อแพลอย เคราะห์ จะมีการแทงหยวก เป็ นลวดลายสวยงามประดับด้วยธงทิว ภายในบรรจุดอกไม้ ธูปเทียน เงินและเสบียงต่างๆ ตามความเชื่อของคนในท้องถิ่น
35.
กิจกรรมวันลอยกระทง ประกวดทํากระทง
38.
ขอบคุณทุกคนทีรับชม ่ พบกันใหม่ โอกาสหน้ าค่
ะ ^^
Download