ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
เรื่องการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ จัดทำโดย นางสาวสุกัญญา  อาลัย รหัส 521121012
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผลการหมายถึงกระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่างๆโดยการใช้เครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์  เช่น นายแดงสูง  180  ซม . การทดสอบการศึกษา  หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคำถามไปกระตุ้นให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งประสารทสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกาย ( วัดด้านการปฎิบัติ )
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1. วัดผลเพื่อพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน  หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่า การประเมินผล  หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่างๆที่ได้จากการวัดผลเช่นผลจากการวัดส่วนสูงของนายแดง  180 ซม .  ก็อาจประมานว่าเป็นคนที่สูงกว่ามาก  วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย  ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้ ความคิด  ( วัดด้านสมอง ) วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย  ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้สึกนึกคิด  ( วัดด้านจิตใจ ) วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย  ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกาย  ( วัดด้านการปฏิบัติ )
บลูม (Bloom) และคณะได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น 3 ลักษณะ นักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน 1. วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่านักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน 2. วัดผลเพื่อวินิจฉัย  หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหาว่า ยัง ไม่เกิดการเรียนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ
3. วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง  หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับความสามารถของนักเรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อันดับ  1 2 3 4. วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของของนักเรียน  หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนสอบ และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน 5. วัดผลเพื่อพยากรณ์  หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต 6. วัดผลเพื่อประเมินผล  หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้มาตัดสิน หรือสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ำ ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
หลักการวัดผลการศึกษา 1. ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน คือ การวัดผลจะเป็นสิ่งตรวจสอบผลจากการสอนของครูว่า นักเรียนเกิดพฤติกรรมตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด 2. เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม การวัดผลครูต้องพยายามเลือกใช้เครื่องมือวัดที่มีคุณภาพ ใช้เครื่องมือวัดหลายๆอย่าง เพื่อช่วยให้การวัดถูกต้องสมบูรณ์ 3. ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด เมื่อใช้เครื่องมือชนิดใด ต้องระวังความพกพร่องของเครื่องมือหรือวิธีการวัดของครู
4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจากการสอนครูต้องแปลผลให้ถูกต้องสมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม 5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า จุดประสงค์สำคัญของการวัดก็คือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน ต้องพยายามค้นหาผู้เรียนแต่ละคนว่า เด่น - ด้อย ในเรื่องใด และหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขแต่ละคนให้ดีขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล 1. การสังเกต การสังเกต คือการพิจารณาปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการโดยอาศัยประสาท สัมผัสของผู้สังเกตโดยตรง
รูปแบบของการสังเกต 1. การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วม หรือคลุกคลีในหมู่ผู้ถูกสังเกต และอาจร่วมทำกิจกรรมด้วยกัน 2. การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ หมายถึง การังเกตที่ผู้ถูกสังเกตอยู่ภายนอกวงของผู้ถูกสังเกต คือสังเกตในฐานะเป็นบุคคลภายนอก การสังเกตแบบนี้ แบ่งได้ 2 ชนิด  2.1 การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง  หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้กำหนดหัวเรื่องเฉพาะเอาไว้ 2.2 การสังเกตแบบมีโครงสร้าง  หมายถึง การสังเกต ที่ผู้สังเกตกำหนดเรื่องเฉพาะเอาไว้
2. การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือพูดคุยโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดเอาไว้ล่วงหน้า รูปแบบของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง  หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช้แบบสัมภาษณ์ คือ ไม่จำเป็นต้องใช้ คำถามที่เหมือนกันหมดกับผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ทุกคน 2. การสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง  หมายถึงการสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์จะใช้แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว
3. แบบสอบถาม แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง รูปแบบของการสอบถาม 1. สอบถามแบบชนิดปลายเปิด  แบบสอบถามชนิดนี้ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ตอบเขียนคำตอบอย่างอิสระด้วยความคิดของตัวเอง แบบสอบถามชนิดนี้ตอบยากและเสียเวลาในการตอบมากเพราะผู้ตอบจะต้องคิดวิเคราะห์อย่างกว้างขวาง
2. สอบถามแบบชนิดปลายปิด แบบสอบถามชนิดนี้ประกอบด้วย ข้อคำถามและตัวเลือก  ( คำตอบ ) ซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้นโดยคาดว่าผู้ตอบ  สามารถเลือกตอบ ได้ตามความต้องการ แบบสอบถามชนิดปลายทางปิด แบ่งเป็น 4 แบบ 2.1  แบบสอบถามรายการ เป็นการสร้างรายการของข้อคำถามที่เกี่ยวหรือสัมพันธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม แต่ละรายการจะถูกประเมิน หรือชี้คำตอบในแง่ใดแง่หนึ่ง  เช่น มี -   ไม่มี  จริง -   ไม่จริง 2.2 มาตราส่วนประมาณค่า เป็นเครื่องมือที่ใช้ในประเมินการปฎิบัติกิจกรรม ทักษะต่างๆ มีระดับความเข้มให้พิจารณาตั้งแต่  3  ระดับขึ้นไป เช่น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นใจ  ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
2.3 แบบจัดอันดับ มักจะให้ผู้ตอบจัดอันดับความสำคัญหรือคุณภาพโดยให้ผู้ตอบเรียงลำดับตามความเข้มจากมากไปน้อย 2.4 แบบเติมเต็มคำสั้นๆในช่องว่าง แบบสอบถามลักษณะนี้จะต้องกำหนดขอบเขตจำเพราะเจาะจงลงไป เช่น ปัจจุบันท่านอายุ ……………… .. ปี ………………… . เดือน ………………………… 4. การจัดอันดับ เป็นเครื่องมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดการอันดับความสำคัญ หรือจัดอันดับคุณภาพและใช้จัดอันดับของข้อมูลหรือผลงานต่างๆของนักเรียนแล้วจึงได้คะแนน  ภายหลังเพื่อการประเมิน
5. การประเมินผลจากสภาพจริง หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำการประเมินผลจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนแก้ปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผู้ผลิตความรู้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ความสำคัญของการประเมินผลจากสภาพจริง 1. การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. เป็นการเอื้อต่อการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
3. เป็นการเน้นให้นักเรียนได้สร้างงาน 4. เป็นการผสมผสานให้กิจกรรมการเรียนรู้และประเมินผล 5. เป็นการลดภาระงานซ่อมเสริมของครู 6. การวัดผลภาคปฎิบัติ การวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฎิบัติคือ 1. ขั้นเตรียมงาน   2. ขั้นปฏิบัติงาน 3. เวลาที่ใช้ในการทำงาน   4. ผลงาน
7. การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน เป็นแนวทางการประเมินผลโดยรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจรรมต่างๆร่วมกันโดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมตนส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน 8. แบบทดสอบ แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถามหรือกลุ่มงานใดๆที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรม หรือปฎิกิริยาโต้ตอบย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สามารถสังเกตได้ ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้ ดังนี้
8.1 แบ่งตามพฤติกรรมหรือสมรรถภาพที่วัดได้  แบ่งเป็น  3 ประเภท 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพสมองด้านต่างๆที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้วว่ามีอยู่เท่าใด แบบทดสอบแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1.1) แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มที่ครูสอน แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นมีหลายแบบ ที่นิยมใช้คือ 1) แบบทดสอบแบบอัตนัยหรือแบบความเรียง 2) แบบทดสอบแบบถูกผิด
3) แบบทดสอบแบบเติมคำ 4) แบบทดสอบแบบจับคู่ 5) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 1.2) แบบทดสอบมาตรฐานหมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพต่างๆของนักเรียนที่ต่างกลุ่มกัน เช่น แบบทกสอบมาตรฐานระดับชาติ 2. แบบทดสอบวัดความถนัด หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพสมองของผู้เรียนแบ่งเป็น 2 แบบคือ 1) แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดทางด้านวิชาการต่างๆ เช่นด้านภาษา
2) แบบทดสอบวัดความถนัดด้านเฉพาะ หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดด้านเฉพาะที่เกี่ยวกับงานอาชีพต่างๆหรือความสามารถพิเศษ เช่น ความสามารถด้านดนตรี 3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิกภาพและปรับตัวให้เข้ากับ สังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่วัด ได้ยาก ผลที่ได้ไม่คงที่แน่นอน ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดเจตคติที่มีต่อบุคลิก สิ่งของ เรื่องราว 2) แบบทดสอบวัดความสนใจที่มีต่ออาชีพ การศึกษา 3) แบบทดสอบวัดความปรับตัว เช่น การปรับตัวเข้ากับเพื่อนๆ
8.2 แบ่งตามลักษณะตอบ 1) แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง 2) แบบทดสอบข้อเขียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การเขียนคำตอบ 3) แบบทดสอบปากเปล่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การพูดโต้ตอบแทนการเขียน 8.3 แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ 1) แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย 2) แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาตอบ
8.4 แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ 1) แบบทดสอบเป็นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็นการสอบภาคปฎิบัติ 2) แบบทดสอบเป็นชั้นหรือหมู่ หมายถึง การสอบทีละหายๆคน  8.5 แบ่งตาม สิ่งเร้าของการถาม 1) แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ต้องอาศัยภาษาสังคมนั้นๆเป็นหลัก ใช้กับผู้ที่อ่านออกเขียนได้ 2) แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพใช้ สัญลักษณ์หรือเลข
8.6 แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์ 1) แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจำบท หรือหน่วยการเรียน 2) แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเนื้อหาที่เรียนผ่านมาตลอดภาคเรียน  8.7 แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ 1) แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรียนต้องคิดหาคำตอบเอง 2) แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีทั้ง คำถามและคำตอบเฉพาะคงที่แน่นอน
9. การสังเกต การสังเกตเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้ประสาทสัมผัสต่างๆของผู้สังเกตเป็นเครื่องมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตา  ( เพื่อดู ) และหู ( เพื่อฟัง ) เก็บข้อมูลตามที่ปรากฏโดยไม่แปลความหมายของข้อมูลนั้นตามความคิดของผู้เกตของการสังเกต ชนิดของการสังเกต การสังเกตแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปร่วมอยู่ในหมู่หรือกลุ่มบุคคลที่จะสังเกต เป็นสมาชิกคนหนึ่งของหมู่และทำกิจกรรมรวมกัน
2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตอยู่นอกกลุ่มผู้ถูกสังเกต กระทำตนเป็นบุคคลภายนอก โดยไม่เข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มที่กำลังทำอยู่ ลักษณะของการสังเกตที่ดี การสังเกตที่ดี ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกตให้แน่นอนว่า จะสังเกตอะไร สังเกตใคร  ที่ไหน เวลาใด เพื่ออะไร 2. วางแผนการสังเกต ไว้ล่วงหน้า และวิเคราะห์สิ่งที่จะสังเกตออกมาเป็นพฤติกรรมหรือองค์ประกอบย่อยๆที่สามารถสังเกตได้ง่าย
3. ควรสังเกตโดยทั่วไปที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว  ทั้งนี้ เพราะถ้าผู้ถูกสังเกตรู้ตัวล่วงหน้าว่าจะถูกสังเกตในเรื่องใด ก็จะระมัดระวังตัว  4. ควรระวังอย่าให้เกิดการลำเอียงในขณะที่สังเกต เช่นความประทับใจต่อบุคคลที่สังเกต 5. ควรสังเกตซ้ำหลายๆครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบความแน่ใจ 6. ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้ง เพื่อป้องกันการลืม 10. การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์เป็นการสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อต้องการผลอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นกระบวนการสื่อสารระหว่างบุคคลสองคน หรือระหว่างบุคคลกับกลุ่มคนจำนวนจำกัด โดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
แน่นอน การสัมภาษณ์จะช่วยให้ทราบช่วยให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูก สัมภาษณ์ ในด้านบุคลิกภาพท่วงทาวาจา ปฏิภาณ ไหวพริบ หรือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ประเภทของการสัมภาษณ์ 1) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแน่นอนเป็นการสัมภาษณ์ที่มีผู้สัมภาษณ์ต้องเตรียมคำถาม หรือแบบสัมภาษณ์ล่วงหน้า ให้ครอบคลุมเนื้อหาหรือเรื่องราวที่ต้องการทราบจากผู้ถูกสัมภาษณ์ ดังนั้น ฟอร์มแบบสัมภาษณ์ต้องสะดวกต่อการกาเครื่องหมายหรือกรอกข้อมูล
2) การสัมภาษณ์แบบไม่มีมีโครงสร้างแน่นอน เป็นการสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์เตรียมจุดมุ่งหมายไว้แล้ว ใช้วิธีการสนทนาซักถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน โดยผู้สัมภาษณ์ต้องพยายามให้ผู้ถูกสัมภาษณ์แสดงความรู้สึกนึกคิดของตนเองออกมา 11. แบบทดสอบถามและแบบตรวจสอบ แบบสอบถามเป็นชุดของคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลในด้านต่างๆ เช่น ความคิดเห็น ความรู้สึก ท่าทีฯ แบบทดสอบเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลอย่างแพร่หลายเนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ได้ข้อมูลในเวลารวดเร็ว และยังสามารถส่งแบบสอบถามไปให้บุคคลที่ต้องการข้อมูลจากเขาได้
ประเภทของแบบสอบถาม แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบสอบถามปลายเปิด เป็นแบบสอบถามที่ไม่กำหนดคำตอบตายตัว เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นและใช้คำพูดของตนเอง  ลักษณะของคำถามมักจะตั้งไว้กว้างๆ เช่น  - ทำไมท่านจึงต้องการเป็นครู 2. แบบสอบถามแบบปลายปิด เป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วยข้อความหรือคำถามที่กำหนดตัวเลือกหรือคำตอบที่คาดว่าเป็นไปได้ไว้เพื่อให้ผู้ตอบเลือกข้อที่ตรงกับข้อเท็จจริง
มีรูปแบบของคำถามอยู่  2 ประเภทใหญ่คือ 2.1 แบบให้เลือกตอบคำถามเดียว เช่น - ท่านมีหนี้สิ้นหรือไม่ (  ) มี  (  ) ไม่มี 2.2 แบบให้เลือกตอบหลายคำตอบ - ท่านชอบอ่านหนังสือพิมพ์รายวันฉบับใดมากที่สุด (  ) ไทยรัฐ (  ) เดลินิวส์ (  ) สยามรัฐ (  ) บ้านเมือง (  ) มติชน (  ) พิมพ์ไทย
12. แบบสำรวจ แบบสำรวจหรือแบบตรวจสอบรายการ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันมากอีกชนิดหนึ่ง โดยปกติจะประกอบด้วยบัญชีรายการสิ่งของหรือเรื่องราวต่างๆ ที่จะให้คำตอบ ตอบในลักษณะให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างที่กำหนดให้ เช่น  มี - ไม่มี  ชอบ - ไม่ชอบ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ มาจัดกระทำโดยมีการจัดระเบียบแยกประเภท หรือใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อตอบคำถามตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน
ลักษณะของข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ที่สนใจจะศึกษา ข้อมูลอาจแบ่งเป็น  2 ประเภท คือ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือตัวเลข 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ  ได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนหรือเลข ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ 2. การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในการตัดลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามี คุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ  3 ประการคือ 1. ผลการวัด ทำให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร  เพื่อนำข้อมูลไปพิจารณา 2. เกณฑ์การพิจารณา ในการที่ตัดสินใจหรือลงข้อสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสำหรับสิ่งที่จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่ได้จากการวัด 3. การตัดสินใจ เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กำหนดว่า สอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน กระทำ อย่างยุติธรรม
ความสำคัญของการประเมินผลทางการศึกษา 1. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดำเนินการเหมาะสมเพียงใด 2. ทำให้ทราบว่าการดำเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่ 3. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดำเนินการงาน 4. ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็นหลักในการปรับปรุงในการดำเนินงาน 5. ช่วยควบคุมการดำเนินงานให้ประสิทธิภาพ 6. เป็นแนวทางในการกำหนดวิธีการในการดำเนินงานครั้งต่อไป
หลักการของการประเมินผลทางการศึกษา 1. กำหนดสิ่งที่ประเมินให้ชัดเจนและวัดได้ เป็นการกำหนดว่าจะตัดสินใจให้คุณค่าในเรื่องอะไร 2. วางแผนการประเมินให้รัดกุม ผู้ประเมินมีการวางแผนเก็บข้อมูล ที่เที่ยงตรงและเชื่อมั่นได้ 3. เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินต้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการวัดและจุดมุ่งหมายของการประเมิน 4. เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินที่มีคุณภาพให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะประเมิน 5. ปราศจากความลำเอียง
การกำหนดสิ่งที่จะประเมินเกี่ยวกับการเรียนการสอน 1. การประเมินก่อนมีการเรียนการสอน การประเมินเพื่อตรวจสอบดูว่าองค์ประกอบก่อนที่จะจัดให้มีการเรียนการสอนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ระดับสติปัญญา คามพร้อม ความสนใจ  ค่านิยม เป็นต้น 2. การประเมินขณะทำการเรียนการสอน การประเมินระยะนี้เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่ พฤติกรรมด้านต่างๆของการเรียนการสอน ในแต่ละเนื้อหาย่อยๆอัตราการมาเรียน ความสนใจ ความตั้งใจ การร่วมกิจกรรม
3. การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน เป็นการประเมินตรวจสอบโดยสรุปของการเรียนการสอนว่า เมื่อครบระยะเวลาที่กำหนดนักเรียนมีความสำเร็จในการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด ตามปกติการวัดจะมี  3 ด้าน ดังนี้ 3.1 พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย เป็นพฤติกรรมทางด้านสมองและสติปัญญา แบ่งย่อยได้ 1) ความรู้ความจำ หมายถึง ความสามารถในการที่จะจดจำกับความรู้ที่ได้รับไปแล้ว 2) ความเข้าใจ หมายถึง  ความสามารถในการตีความ แปลความ และการขยายความ
3) การนำไปใช้  หมายถึง ความสามารถในการที่นำความรู้ความสามารถที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ได้ 4) การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการหาข้อเท็จจริง หาความสำคัญ และหลักการต่างๆของสิ่งนั้น 5) การสังเคราะห์  หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมเข้ามารวมกัน หรือทำให้เกิด เรื่องใหม่ สิ่งใหม่ 6) การประเมินค่า หมายถึง ความสามารถในการตัดสินสิ่งต่างๆโดยมีเกณฑ์หรือมาตรฐานเป็นเครื่องตัดสินใจ
3.2 พฤติกรรมด้านจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมทางด้านจิตใจที่แสดงออกมาในรูปของค่านิยม เจตติ  ความสนใจ 3.3 พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย   เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะในการเคลื่อนไหว การใช้อวัยวัยต่างๆ  ของร่างกาย ตลอดจนการประสานงานของประสาทและกล้ามเนื้อ จากการเรียนรู้โดยทั่วไปอาจแยกลักษณะการประเมินผลจากข้อมูลออกเป็น  2 วิธี ที่สำคัญ คือ
1. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้องการทราบว่าบุคคลนั้นๆ มีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จาก ผลงานไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นราย บุคคล ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถือว่าได้เรียนรู้ ตามจุดประสงค์แล้ว 2. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น คือ จำแนกคะแนนสูงสุดจนต่ำสุดแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบเพื่อ ประเมินต่อไป เช่น การสอบ คัดเลือกนักศึกษาสอบเข้ามหาลัย
ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงกลุ่ม 1. ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความน่าเชื่อมั่น และเที่ยงตรง 2. ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินจะต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริง ของผลการเรียน
จบการนำเสนอ แล้วคร้า

More Related Content

การวัดผลและประ๶มิȨลการ๶รียนรู้555

  • 2. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผลการหมายถึงกระบวนการหาปริมาณ หรือจำนวนของสิ่งต่างๆโดยการใช้เครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลข หรือสัญลักษณ์ เช่น นายแดงสูง 180 ซม . การทดสอบการศึกษา หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบหรือคำถามไปกระตุ้นให้สมองแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งประสารทสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกาย ( วัดด้านการปฎิบัติ )
  • 3. จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1. วัดผลเพื่อพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่า การประเมินผล หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่างๆที่ได้จากการวัดผลเช่นผลจากการวัดส่วนสูงของนายแดง 180 ซม . ก็อาจประมานว่าเป็นคนที่สูงกว่ามาก วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้ ความคิด ( วัดด้านสมอง ) วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับ ความรู้สึกนึกคิด ( วัดด้านจิตใจ ) วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ได้แก่ การวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ และประสาทสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกาย ( วัดด้านการปฏิบัติ )
  • 4. บลูม (Bloom) และคณะได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น 3 ลักษณะ นักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน 1. วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อดูว่านักเรียนบกพร่องหรือไม่เข้าใจในเรื่องใดอย่างไร แล้วครูพยายามอบรมสั่งสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเจริญงอกงามตามศักยภาพของนักเรียน 2. วัดผลเพื่อวินิจฉัย หมายถึง การวัดผลเพื่อค้นหาจุดบกพร่องของนักเรียนที่มีปัญหาว่า ยัง ไม่เกิดการเรียนรู้ตรงจุดใด เพื่อหาทางช่วยเหลือ
  • 5. 3. วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือจัดตำแหน่ง หมายถึง การวัดผลเพื่อจัดอันดับความสามารถของนักเรียนในกลุ่มเดียวกันว่าใครเก่งกว่าใครเก่งกว่า ใครควรได้อันดับ 1 2 3 4. วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนาการของของนักเรียน หมายถึง การวัดผลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนเอง เช่น การทดสอบก่อนสอบ และหลังเรียนแล้วนำผลมาเปรียบเทียบกัน 5. วัดผลเพื่อพยากรณ์ หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้ไปคาดคะเนหรือทำนายเหตุการณ์ในอนาคต 6. วัดผลเพื่อประเมินผล หมายถึง การวัดเพื่อนำผลที่ได้มาตัดสิน หรือสรุปคุณภาพของการจัดการศึกษาว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ำ ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร
  • 6. หลักการวัดผลการศึกษา 1. ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน คือ การวัดผลจะเป็นสิ่งตรวจสอบผลจากการสอนของครูว่า นักเรียนเกิดพฤติกรรมตามที่ระบุไว้ในจุดมุ่งหมายการสอนมากน้อยเพียงใด 2. เลือกใช้เครื่องมือวัดที่ดีและเหมาะสม การวัดผลครูต้องพยายามเลือกใช้เครื่องมือวัดที่มีคุณภาพ ใช้เครื่องมือวัดหลายๆอย่าง เพื่อช่วยให้การวัดถูกต้องสมบูรณ์ 3. ระวังความคลาดเคลื่อนหรือความผิดพลาดของการวัด เมื่อใช้เครื่องมือชนิดใด ต้องระวังความพกพร่องของเครื่องมือหรือวิธีการวัดของครู
  • 7. 4. ประเมินผลการวัดให้ถูกต้อง เช่น คะแนนที่เกิดจากการสอนครูต้องแปลผลให้ถูกต้องสมเหตุสมผลและมีความยุติธรรม 5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า จุดประสงค์สำคัญของการวัดก็คือ เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน ต้องพยายามค้นหาผู้เรียนแต่ละคนว่า เด่น - ด้อย ในเรื่องใด และหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขแต่ละคนให้ดีขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล 1. การสังเกต การสังเกต คือการพิจารณาปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อค้นหาความจริงบางประการโดยอาศัยประสาท สัมผัสของผู้สังเกตโดยตรง
  • 8. รูปแบบของการสังเกต 1. การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วม หรือคลุกคลีในหมู่ผู้ถูกสังเกต และอาจร่วมทำกิจกรรมด้วยกัน 2. การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าร่วมในเหตุการณ์ หมายถึง การังเกตที่ผู้ถูกสังเกตอยู่ภายนอกวงของผู้ถูกสังเกต คือสังเกตในฐานะเป็นบุคคลภายนอก การสังเกตแบบนี้ แบ่งได้ 2 ชนิด 2.1 การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้กำหนดหัวเรื่องเฉพาะเอาไว้ 2.2 การสังเกตแบบมีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกต ที่ผู้สังเกตกำหนดเรื่องเฉพาะเอาไว้
  • 9. 2. การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือพูดคุยโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดเอาไว้ล่วงหน้า รูปแบบของการสัมภาษณ์ 1. การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช้แบบสัมภาษณ์ คือ ไม่จำเป็นต้องใช้ คำถามที่เหมือนกันหมดกับผู้ที่ถูกสัมภาษณ์ทุกคน 2. การสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง หมายถึงการสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์จะใช้แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว
  • 10. 3. แบบสอบถาม แบบสอบถามเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์ ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีการที่สะดวก และสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง รูปแบบของการสอบถาม 1. สอบถามแบบชนิดปลายเปิด แบบสอบถามชนิดนี้ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ตอบเขียนคำตอบอย่างอิสระด้วยความคิดของตัวเอง แบบสอบถามชนิดนี้ตอบยากและเสียเวลาในการตอบมากเพราะผู้ตอบจะต้องคิดวิเคราะห์อย่างกว้างขวาง
  • 11. 2. สอบถามแบบชนิดปลายปิด แบบสอบถามชนิดนี้ประกอบด้วย ข้อคำถามและตัวเลือก ( คำตอบ ) ซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้นโดยคาดว่าผู้ตอบ สามารถเลือกตอบ ได้ตามความต้องการ แบบสอบถามชนิดปลายทางปิด แบ่งเป็น 4 แบบ 2.1 แบบสอบถามรายการ เป็นการสร้างรายการของข้อคำถามที่เกี่ยวหรือสัมพันธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม แต่ละรายการจะถูกประเมิน หรือชี้คำตอบในแง่ใดแง่หนึ่ง เช่น มี - ไม่มี จริง - ไม่จริง 2.2 มาตราส่วนประมาณค่า เป็นเครื่องมือที่ใช้ในประเมินการปฎิบัติกิจกรรม ทักษะต่างๆ มีระดับความเข้มให้พิจารณาตั้งแต่ 3 ระดับขึ้นไป เช่น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นใจ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
  • 12. 2.3 แบบจัดอันดับ มักจะให้ผู้ตอบจัดอันดับความสำคัญหรือคุณภาพโดยให้ผู้ตอบเรียงลำดับตามความเข้มจากมากไปน้อย 2.4 แบบเติมเต็มคำสั้นๆในช่องว่าง แบบสอบถามลักษณะนี้จะต้องกำหนดขอบเขตจำเพราะเจาะจงลงไป เช่น ปัจจุบันท่านอายุ ……………… .. ปี ………………… . เดือน ………………………… 4. การจัดอันดับ เป็นเครื่องมือวัดผลให้นักเรียน หรือผู้ได้รับสอบถามเป็นผู้ตอบ โดยการจัดการอันดับความสำคัญ หรือจัดอันดับคุณภาพและใช้จัดอันดับของข้อมูลหรือผลงานต่างๆของนักเรียนแล้วจึงได้คะแนน ภายหลังเพื่อการประเมิน
  • 13. 5. การประเมินผลจากสภาพจริง หมายถึง กระบวนการสังเกต การบันทึก และรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำการประเมินผลจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนแก้ปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผู้ผลิตความรู้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง รวมทั้งเน้นพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ความสำคัญของการประเมินผลจากสภาพจริง 1. การเรียนการสอนและการวัดประเมินผลจากสภาพจริง จะเอื้อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. เป็นการเอื้อต่อการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
  • 14. 3. เป็นการเน้นให้นักเรียนได้สร้างงาน 4. เป็นการผสมผสานให้กิจกรรมการเรียนรู้และประเมินผล 5. เป็นการลดภาระงานซ่อมเสริมของครู 6. การวัดผลภาคปฎิบัติ การวัดผลภาคปฏิบัติ เป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ ซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน ในสถานการณ์จริง หรือในสถานการณ์จำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฎิบัติคือ 1. ขั้นเตรียมงาน 2. ขั้นปฏิบัติงาน 3. เวลาที่ใช้ในการทำงาน 4. ผลงาน
  • 15. 7. การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน เป็นแนวทางการประเมินผลโดยรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจรรมต่างๆร่วมกันโดยกระทำอย่างต่อเนื่องตลอดภาคเรียน ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมตนส่วนหนึ่ง จะเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในสภาพการเรียนประจำวัน โดยกิจกรรมที่สอดแทรกเหล่านี้จะวัด เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชีวิตประจำวัน 8. แบบทดสอบ แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถามหรือกลุ่มงานใดๆที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรม หรือปฎิกิริยาโต้ตอบย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สามารถสังเกตได้ ประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้ ดังนี้
  • 16. 8.1 แบ่งตามพฤติกรรมหรือสมรรถภาพที่วัดได้ แบ่งเป็น 3 ประเภท 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพสมองด้านต่างๆที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้วว่ามีอยู่เท่าใด แบบทดสอบแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1.1) แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้น หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มที่ครูสอน แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นมีหลายแบบ ที่นิยมใช้คือ 1) แบบทดสอบแบบอัตนัยหรือแบบความเรียง 2) แบบทดสอบแบบถูกผิด
  • 17. 3) แบบทดสอบแบบเติมคำ 4) แบบทดสอบแบบจับคู่ 5) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 1.2) แบบทดสอบมาตรฐานหมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพต่างๆของนักเรียนที่ต่างกลุ่มกัน เช่น แบบทกสอบมาตรฐานระดับชาติ 2. แบบทดสอบวัดความถนัด หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพสมองของผู้เรียนแบ่งเป็น 2 แบบคือ 1) แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดทางด้านวิชาการต่างๆ เช่นด้านภาษา
  • 18. 2) แบบทดสอบวัดความถนัดด้านเฉพาะ หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดความถนัดด้านเฉพาะที่เกี่ยวกับงานอาชีพต่างๆหรือความสามารถพิเศษ เช่น ความสามารถด้านดนตรี 3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิกภาพและปรับตัวให้เข้ากับ สังคม ซึ่งเป็นเรื่องที่วัด ได้ยาก ผลที่ได้ไม่คงที่แน่นอน ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดเจตคติที่มีต่อบุคลิก สิ่งของ เรื่องราว 2) แบบทดสอบวัดความสนใจที่มีต่ออาชีพ การศึกษา 3) แบบทดสอบวัดความปรับตัว เช่น การปรับตัวเข้ากับเพื่อนๆ
  • 19. 8.2 แบ่งตามลักษณะตอบ 1) แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบทดสอบที่ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง 2) แบบทดสอบข้อเขียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การเขียนคำตอบ 3) แบบทดสอบปากเปล่า หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้การพูดโต้ตอบแทนการเขียน 8.3 แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ 1) แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาน้อย 2) แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้เวลาตอบ
  • 20. 8.4 แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ 1) แบบทดสอบเป็นรายบุคคล หมายถึง การสอบทีละคนมักเป็นการสอบภาคปฎิบัติ 2) แบบทดสอบเป็นชั้นหรือหมู่ หมายถึง การสอบทีละหายๆคน 8.5 แบ่งตาม สิ่งเร้าของการถาม 1) แบบทดสอบทางภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ต้องอาศัยภาษาสังคมนั้นๆเป็นหลัก ใช้กับผู้ที่อ่านออกเขียนได้ 2) แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้รูปภาพใช้ สัญลักษณ์หรือเลข
  • 21. 8.6 แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์ 1) แบบทดสอบย่อย หมายถึง แบบทดสอบประจำบท หรือหน่วยการเรียน 2) แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบสรุปรวมเนื้อหาที่เรียนผ่านมาตลอดภาคเรียน 8.7 แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ 1) แบบทดสอบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีเฉพาะคำถามนักเรียนต้องคิดหาคำตอบเอง 2) แบบทดสอบปรนัย หมายถึง แบบทดสอบที่มีทั้ง คำถามและคำตอบเฉพาะคงที่แน่นอน
  • 22. 9. การสังเกต การสังเกตเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้ประสาทสัมผัสต่างๆของผู้สังเกตเป็นเครื่องมือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตา ( เพื่อดู ) และหู ( เพื่อฟัง ) เก็บข้อมูลตามที่ปรากฏโดยไม่แปลความหมายของข้อมูลนั้นตามความคิดของผู้เกตของการสังเกต ชนิดของการสังเกต การสังเกตแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปร่วมอยู่ในหมู่หรือกลุ่มบุคคลที่จะสังเกต เป็นสมาชิกคนหนึ่งของหมู่และทำกิจกรรมรวมกัน
  • 23. 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตอยู่นอกกลุ่มผู้ถูกสังเกต กระทำตนเป็นบุคคลภายนอก โดยไม่เข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มที่กำลังทำอยู่ ลักษณะของการสังเกตที่ดี การสังเกตที่ดี ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. กำหนดจุดมุ่งหมายของการสังเกตให้แน่นอนว่า จะสังเกตอะไร สังเกตใคร ที่ไหน เวลาใด เพื่ออะไร 2. วางแผนการสังเกต ไว้ล่วงหน้า และวิเคราะห์สิ่งที่จะสังเกตออกมาเป็นพฤติกรรมหรือองค์ประกอบย่อยๆที่สามารถสังเกตได้ง่าย
  • 24. 3. ควรสังเกตโดยทั่วไปที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว ทั้งนี้ เพราะถ้าผู้ถูกสังเกตรู้ตัวล่วงหน้าว่าจะถูกสังเกตในเรื่องใด ก็จะระมัดระวังตัว 4. ควรระวังอย่าให้เกิดการลำเอียงในขณะที่สังเกต เช่นความประทับใจต่อบุคคลที่สังเกต 5. ควรสังเกตซ้ำหลายๆครั้ง เพื่อเป็นการตรวจสอบความแน่ใจ 6. ควรมีการบันทึกการสังเกตทุกครั้ง เพื่อป้องกันการลืม 10. การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์เป็นการสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อต้องการผลอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นกระบวนการสื่อสารระหว่างบุคคลสองคน หรือระหว่างบุคคลกับกลุ่มคนจำนวนจำกัด โดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
  • 25. แน่นอน การสัมภาษณ์จะช่วยให้ทราบช่วยให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูก สัมภาษณ์ ในด้านบุคลิกภาพท่วงทาวาจา ปฏิภาณ ไหวพริบ หรือการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ประเภทของการสัมภาษณ์ 1) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างแน่นอนเป็นการสัมภาษณ์ที่มีผู้สัมภาษณ์ต้องเตรียมคำถาม หรือแบบสัมภาษณ์ล่วงหน้า ให้ครอบคลุมเนื้อหาหรือเรื่องราวที่ต้องการทราบจากผู้ถูกสัมภาษณ์ ดังนั้น ฟอร์มแบบสัมภาษณ์ต้องสะดวกต่อการกาเครื่องหมายหรือกรอกข้อมูล
  • 26. 2) การสัมภาษณ์แบบไม่มีมีโครงสร้างแน่นอน เป็นการสัมภาษณ์ที่ผู้สัมภาษณ์เตรียมจุดมุ่งหมายไว้แล้ว ใช้วิธีการสนทนาซักถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน โดยผู้สัมภาษณ์ต้องพยายามให้ผู้ถูกสัมภาษณ์แสดงความรู้สึกนึกคิดของตนเองออกมา 11. แบบทดสอบถามและแบบตรวจสอบ แบบสอบถามเป็นชุดของคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลในด้านต่างๆ เช่น ความคิดเห็น ความรู้สึก ท่าทีฯ แบบทดสอบเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลอย่างแพร่หลายเนื่องจากเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ได้ข้อมูลในเวลารวดเร็ว และยังสามารถส่งแบบสอบถามไปให้บุคคลที่ต้องการข้อมูลจากเขาได้
  • 27. ประเภทของแบบสอบถาม แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบสอบถามปลายเปิด เป็นแบบสอบถามที่ไม่กำหนดคำตอบตายตัว เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็นและใช้คำพูดของตนเอง ลักษณะของคำถามมักจะตั้งไว้กว้างๆ เช่น - ทำไมท่านจึงต้องการเป็นครู 2. แบบสอบถามแบบปลายปิด เป็นแบบสอบถามที่ประกอบด้วยข้อความหรือคำถามที่กำหนดตัวเลือกหรือคำตอบที่คาดว่าเป็นไปได้ไว้เพื่อให้ผู้ตอบเลือกข้อที่ตรงกับข้อเท็จจริง
  • 28. มีรูปแบบของคำถามอยู่ 2 ประเภทใหญ่คือ 2.1 แบบให้เลือกตอบคำถามเดียว เช่น - ท่านมีหนี้สิ้นหรือไม่ ( ) มี ( ) ไม่มี 2.2 แบบให้เลือกตอบหลายคำตอบ - ท่านชอบอ่านหนังสือพิมพ์รายวันฉบับใดมากที่สุด ( ) ไทยรัฐ ( ) เดลินิวส์ ( ) สยามรัฐ ( ) บ้านเมือง ( ) มติชน ( ) พิมพ์ไทย
  • 29. 12. แบบสำรวจ แบบสำรวจหรือแบบตรวจสอบรายการ เป็นเครื่องมือที่ใช้กันมากอีกชนิดหนึ่ง โดยปกติจะประกอบด้วยบัญชีรายการสิ่งของหรือเรื่องราวต่างๆ ที่จะให้คำตอบ ตอบในลักษณะให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างที่กำหนดให้ เช่น มี - ไม่มี ชอบ - ไม่ชอบ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้ มาจัดกระทำโดยมีการจัดระเบียบแยกประเภท หรือใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อตอบคำถามตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน
  • 30. ลักษณะของข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ที่สนใจจะศึกษา ข้อมูลอาจแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือตัวเลข 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนหรือเลข ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. การวิเคราะห์โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ 2. การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
  • 31. การประเมินผลทางการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในการตัดลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามี คุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1. ผลการวัด ทำให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนำข้อมูลไปพิจารณา 2. เกณฑ์การพิจารณา ในการที่ตัดสินใจหรือลงข้อสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสำหรับสิ่งที่จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่ได้จากการวัด 3. การตัดสินใจ เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กำหนดว่า สอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน กระทำ อย่างยุติธรรม
  • 32. ความสำคัญของการประเมินผลทางการศึกษา 1. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดำเนินการเหมาะสมเพียงใด 2. ทำให้ทราบว่าการดำเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่ 3. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดำเนินการงาน 4. ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็นหลักในการปรับปรุงในการดำเนินงาน 5. ช่วยควบคุมการดำเนินงานให้ประสิทธิภาพ 6. เป็นแนวทางในการกำหนดวิธีการในการดำเนินงานครั้งต่อไป
  • 33. หลักการของการประเมินผลทางการศึกษา 1. กำหนดสิ่งที่ประเมินให้ชัดเจนและวัดได้ เป็นการกำหนดว่าจะตัดสินใจให้คุณค่าในเรื่องอะไร 2. วางแผนการประเมินให้รัดกุม ผู้ประเมินมีการวางแผนเก็บข้อมูล ที่เที่ยงตรงและเชื่อมั่นได้ 3. เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินต้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการวัดและจุดมุ่งหมายของการประเมิน 4. เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินที่มีคุณภาพให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะประเมิน 5. ปราศจากความลำเอียง
  • 34. การกำหนดสิ่งที่จะประเมินเกี่ยวกับการเรียนการสอน 1. การประเมินก่อนมีการเรียนการสอน การประเมินเพื่อตรวจสอบดูว่าองค์ประกอบก่อนที่จะจัดให้มีการเรียนการสอนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น ระดับสติปัญญา คามพร้อม ความสนใจ ค่านิยม เป็นต้น 2. การประเมินขณะทำการเรียนการสอน การประเมินระยะนี้เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่ พฤติกรรมด้านต่างๆของการเรียนการสอน ในแต่ละเนื้อหาย่อยๆอัตราการมาเรียน ความสนใจ ความตั้งใจ การร่วมกิจกรรม
  • 35. 3. การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน เป็นการประเมินตรวจสอบโดยสรุปของการเรียนการสอนว่า เมื่อครบระยะเวลาที่กำหนดนักเรียนมีความสำเร็จในการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด ตามปกติการวัดจะมี 3 ด้าน ดังนี้ 3.1 พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย เป็นพฤติกรรมทางด้านสมองและสติปัญญา แบ่งย่อยได้ 1) ความรู้ความจำ หมายถึง ความสามารถในการที่จะจดจำกับความรู้ที่ได้รับไปแล้ว 2) ความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการตีความ แปลความ และการขยายความ
  • 36. 3) การนำไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการที่นำความรู้ความสามารถที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ได้ 4) การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการหาข้อเท็จจริง หาความสำคัญ และหลักการต่างๆของสิ่งนั้น 5) การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมเข้ามารวมกัน หรือทำให้เกิด เรื่องใหม่ สิ่งใหม่ 6) การประเมินค่า หมายถึง ความสามารถในการตัดสินสิ่งต่างๆโดยมีเกณฑ์หรือมาตรฐานเป็นเครื่องตัดสินใจ
  • 37. 3.2 พฤติกรรมด้านจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมทางด้านจิตใจที่แสดงออกมาในรูปของค่านิยม เจตติ ความสนใจ 3.3 พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับทักษะในการเคลื่อนไหว การใช้อวัยวัยต่างๆ ของร่างกาย ตลอดจนการประสานงานของประสาทและกล้ามเนื้อ จากการเรียนรู้โดยทั่วไปอาจแยกลักษณะการประเมินผลจากข้อมูลออกเป็น 2 วิธี ที่สำคัญ คือ
  • 38. 1. การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้องการทราบว่าบุคคลนั้นๆ มีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จาก ผลงานไปเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นราย บุคคล ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถือว่าได้เรียนรู้ ตามจุดประสงค์แล้ว 2. การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบเทียบคะแนนของบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น คือ จำแนกคะแนนสูงสุดจนต่ำสุดแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเปรียบเทียบเพื่อ ประเมินต่อไป เช่น การสอบ คัดเลือกนักศึกษาสอบเข้ามหาลัย
  • 39. ข้อควรคำนึงการประเมินแบบอิงกลุ่ม 1. ข้อสอบต้องมีคุณภาพสูง มีความน่าเชื่อมั่น และเที่ยงตรง 2. ข้อสอบที่ใช้จะต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด การประเมินจะต้องมีความยุติธรรม ตามสภาพความเป็นจริง ของผลการเรียน