ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
ครูผู้สอน
นายพิสุทธิ์ บุญเย็น
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
เทคโนโลยี
(technology)
• การนาความรู้ หรือ
วิทยาการด้าน
วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์
ในการพัฒนาเครื่องมือ
เครื่องจักร มาช่วยในการ
ทางาน การแก้ปัญหา
สารสนเทศ
( Information)
• ข้อมูล ข้อเท็จจริง ความ
คิดเห็น หรือ
ประสบการณ์ต่างๆ ที่
ผ่านการประมวลผล
อย่างมีระบบ
การสื่อสาร
( Communication)
• การส่งข้อมูลข่าวสารโดย
อาศัยสื่อเป็นตัวกลาง
จากบุคคลหนึ่ง หรือ
สถานที่หนึ่งไปยังสถานที่
หนึ่ง
 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( Information and Communication Technoloy : ICT )
เป็นการนาคาทั้งสามคามารวมกัน มีความหมายคือ การทาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้
งานร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม เพื่อผลิต เผยแพร่ และจัดเก็บสื่อสารสนเทศใน
รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ เสียง เป็นต้น
1.2 ระบบสารสนเทศ
 ระบบสารสนเทศ ( Information System ) เป็นระบบช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ และจัดการกับ
ข้อมูลต่างๆ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย 5 ส่วนสาคัญ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
3. ข้อมูล (Data)
4. บุคลากร ( People )
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure)
1. ฮาร์ดแวร์ : (HARDWARE)
เครื่องมือที่ใช้จัดการกับสารสนเทศทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
ต่อพ่วงต่างๆ เช่น จอภาพ (Monitor) ,คีย์บอร์ด (Keyboard) , เมาส์ (Mouse)
สแกนเนอร์ (Scanner) , เครื่องอ่านบาร์โค๊ด(Barcode reader) เป็นต้น
 ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งการให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
ต่างๆ ทางานตามคาสั่งของผู้ใช้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
 1. ซอฟต์แวร์ระบบ ( System software ) เป็ นชุดคาสั่งที่มีหน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์
และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้เริ่มการทางานต่างๆได้ เช่น ดอส
(Dos) , วินโดวส์ (Windows) , ลินุกซ์ (Linux), แมค โอเอส (Mac Os) เป็ นต้น
 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) เป็ นชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์ใช้กับงานตาม
ความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processor),ซอฟต์แวร์
ตารางทางาน (Spreadsheet) , ซอฟต์แวร์นาเสนอ ( Presentation) เป็ นต้น
2. ซอฟต์แวร์: (SOFTWARE)
 ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความสมบูรณ์ ถูกต้อง แม่นยา และเชื่อถือได้ โดยจะถูกรวบรวมและป้อน
ข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ เป็น
ต้น และต้องจัดเก็บเป็นโครงสร้างที่เป็นระบบ เพื่อการสืบค้นได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
3. ข้อมูล: (DATA)
4. บุคลากร: (PEOPLE)
 ต้องมีความรู้ และความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ แบ่งออกเป็น
 ผู้พัฒนา ต้องพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทางานได้ตามความต้องการ
 ผู้ใช้ ต้องมีความรู้ และความเข้าใจในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน: (PROCEDURE)
 ผู้ใช้งานจะต้องปฏิบัติตามระบียบและวิธีการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงาน (User manual)
อย่างเคร่งครัด
1. ด้านการศึกษา เป็นเครื่องมอในการบริหารงานการศึกษา เช่น
 จัดเก็บข้อมูลนักเรียน ระบบลงทะเบียน
 การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 การศึกษาบทเรียนออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
2. ด้านการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดีรอม ดีวิดีรอม สามารถบันทึก และนา
ข้อมูลมาใช้ได้ตลอดเวลา
3. ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น การสื่อสารไร้สายเข้ามามีบทบาทสาคัญกับ
ชีวิตประจาวัน การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การส่งข้อความด้วย E-mail เป็นต้น
4. ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การวิจัย และการทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การวิจัย
ด้านนิวเคลีย์ฟิสิกส์ งานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่มีการออกแบบโครงสร้างที่สลับซับซ้อน เป็นต้น
5. ด้านความบันเทิง กานาเสนอที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในปัจจุบัน เช่น การเล่น
เกมส์ออนไลน์ การชมโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
1.3 ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 เทคโนโลยีไร้สายเพิ่มความสะดวกสบาย
 อุปกรณ์จะมีขนาดเล็กลง กะทัดรัด และราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
 การวางแผน คิดวิเคราะห์ การตัดสินใจของมนุษย์จะถูกแทนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็น
เครื่องมือในการตัดสินใจ
 หน่วยงานหรือองค์กรจะมีขนาดเล็กลง แต่จะปรับเปลี่ยนเป็นลักษณะของการเชื่อมโยงเป็น
เครือข่ายระหว่างหน่วยงานย่อยๆ เพิ่มมากขึ้น
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 พฤติกรรมเลียนแบบจากเกมที่ใช้ความรุนแรง อาจเกิดปัญหาอาชญากรรม
 ชีวิตสังคมเปลี่ยนไป การพบปะกันจริงลดน้อยลง ส่งผลต่อสัมพันธภาพทางสังคมลดน้อยลง
 เข้าถึงข้อมูลระบบเครือข่ายที่ง่าย สะดวก อาจเป็นช่องทางการโจรกรรมเพิ่มมากขึ้น
 เทคโนโลยีทันสมัย เกิดการผลิตของผิดกฎหมาย ละเมิดลิขสิทธิ์เพิ่มมากขึ้น เช่น เพลง
ภาพยนตร์
 การส่งต่อข้อมูลข่าวสาร อีเมลล์ facebook อาจละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
 ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มมากขึ้น
1.5 ผลกระทบจากการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เขียนโปรแกรม
 นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) ทาหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาระบบ
สารสนเทศ โดยออกแบบให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
 ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator) ทาหน้าที่บริหารจัดการ
ฐานข้อมูล ดูแลรักษาความปลอดภัย ประสานงาน และตรวจสอบการใช้งาน
 ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network administrator) ทาหน้าที่บริหารจัดการ
ระบบเครือข่าย ดูแลรักษาความปลอดภัยภายในองค์กร
 ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (Webmaster) ทาหน้าที่ดูแลและคอยควบคุม
ทิศทางของเว็บไซต์ ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอยู่เสมอ
 เจ้าหน้าที่เทคนิค ( Technician) ทาหน้าที่ดูแล รักษา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั้ง
ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
1.6 อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นักเรียนศึกษาจบบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรียบร้อยแล้ว
 ให้นัก๶รียนทาแบบฝึกหัด
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6

More Related Content

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6

  • 2. บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร เทคโนโลยี (technology) • การนาความรู้ หรือ วิทยาการด้าน วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ ในการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องจักร มาช่วยในการ ทางาน การแก้ปัญหา สารสนเทศ ( Information) • ข้อมูล ข้อเท็จจริง ความ คิดเห็น หรือ ประสบการณ์ต่างๆ ที่ ผ่านการประมวลผล อย่างมีระบบ การสื่อสาร ( Communication) • การส่งข้อมูลข่าวสารโดย อาศัยสื่อเป็นตัวกลาง จากบุคคลหนึ่ง หรือ สถานที่หนึ่งไปยังสถานที่ หนึ่ง
  • 3.  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( Information and Communication Technoloy : ICT ) เป็นการนาคาทั้งสามคามารวมกัน มีความหมายคือ การทาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ งานร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม เพื่อผลิต เผยแพร่ และจัดเก็บสื่อสารสนเทศใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ เสียง เป็นต้น
  • 4. 1.2 ระบบสารสนเทศ  ระบบสารสนเทศ ( Information System ) เป็นระบบช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ และจัดการกับ ข้อมูลต่างๆ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย 5 ส่วนสาคัญ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. ข้อมูล (Data) 4. บุคลากร ( People ) 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure)
  • 5. 1. ฮาร์ดแวร์ : (HARDWARE) เครื่องมือที่ใช้จัดการกับสารสนเทศทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่อพ่วงต่างๆ เช่น จอภาพ (Monitor) ,คีย์บอร์ด (Keyboard) , เมาส์ (Mouse) สแกนเนอร์ (Scanner) , เครื่องอ่านบาร์โค๊ด(Barcode reader) เป็นต้น
  • 6.  ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งการให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ต่างๆ ทางานตามคาสั่งของผู้ใช้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท  1. ซอฟต์แวร์ระบบ ( System software ) เป็ นชุดคาสั่งที่มีหน้าที่ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้เริ่มการทางานต่างๆได้ เช่น ดอส (Dos) , วินโดวส์ (Windows) , ลินุกซ์ (Linux), แมค โอเอส (Mac Os) เป็ นต้น  2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) เป็ นชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์ใช้กับงานตาม ความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processor),ซอฟต์แวร์ ตารางทางาน (Spreadsheet) , ซอฟต์แวร์นาเสนอ ( Presentation) เป็ นต้น 2. ซอฟต์แวร์: (SOFTWARE)
  • 7.  ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความสมบูรณ์ ถูกต้อง แม่นยา และเชื่อถือได้ โดยจะถูกรวบรวมและป้อน ข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ เป็น ต้น และต้องจัดเก็บเป็นโครงสร้างที่เป็นระบบ เพื่อการสืบค้นได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 3. ข้อมูล: (DATA) 4. บุคลากร: (PEOPLE)  ต้องมีความรู้ และความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ แบ่งออกเป็น  ผู้พัฒนา ต้องพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้ผู้ใช้สามารถทางานได้ตามความต้องการ  ผู้ใช้ ต้องมีความรู้ และความเข้าใจในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน: (PROCEDURE)  ผู้ใช้งานจะต้องปฏิบัติตามระบียบและวิธีการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงาน (User manual) อย่างเคร่งครัด
  • 8. 1. ด้านการศึกษา เป็นเครื่องมอในการบริหารงานการศึกษา เช่น  จัดเก็บข้อมูลนักเรียน ระบบลงทะเบียน  การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม  การศึกษาบทเรียนออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น 2. ด้านการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดีรอม ดีวิดีรอม สามารถบันทึก และนา ข้อมูลมาใช้ได้ตลอดเวลา 3. ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น การสื่อสารไร้สายเข้ามามีบทบาทสาคัญกับ ชีวิตประจาวัน การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การส่งข้อความด้วย E-mail เป็นต้น 4. ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การวิจัย และการทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การวิจัย ด้านนิวเคลีย์ฟิสิกส์ งานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่มีการออกแบบโครงสร้างที่สลับซับซ้อน เป็นต้น 5. ด้านความบันเทิง กานาเสนอที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในปัจจุบัน เช่น การเล่น เกมส์ออนไลน์ การชมโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผ่านโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น 1.3 ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 9.  เทคโนโลยีไร้สายเพิ่มความสะดวกสบาย  อุปกรณ์จะมีขนาดเล็กลง กะทัดรัด และราคาถูก แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น  การวางแผน คิดวิเคราะห์ การตัดสินใจของมนุษย์จะถูกแทนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะเป็น เครื่องมือในการตัดสินใจ  หน่วยงานหรือองค์กรจะมีขนาดเล็กลง แต่จะปรับเปลี่ยนเป็นลักษณะของการเชื่อมโยงเป็น เครือข่ายระหว่างหน่วยงานย่อยๆ เพิ่มมากขึ้น 1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 10.  พฤติกรรมเลียนแบบจากเกมที่ใช้ความรุนแรง อาจเกิดปัญหาอาชญากรรม  ชีวิตสังคมเปลี่ยนไป การพบปะกันจริงลดน้อยลง ส่งผลต่อสัมพันธภาพทางสังคมลดน้อยลง  เข้าถึงข้อมูลระบบเครือข่ายที่ง่าย สะดวก อาจเป็นช่องทางการโจรกรรมเพิ่มมากขึ้น  เทคโนโลยีทันสมัย เกิดการผลิตของผิดกฎหมาย ละเมิดลิขสิทธิ์เพิ่มมากขึ้น เช่น เพลง ภาพยนตร์  การส่งต่อข้อมูลข่าวสาร อีเมลล์ facebook อาจละเมิดสิทธิส่วนบุคคล  ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มมากขึ้น 1.5 ผลกระทบจากการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 11.  นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เขียนโปรแกรม  นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) ทาหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาระบบ สารสนเทศ โดยออกแบบให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้  ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator) ทาหน้าที่บริหารจัดการ ฐานข้อมูล ดูแลรักษาความปลอดภัย ประสานงาน และตรวจสอบการใช้งาน  ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network administrator) ทาหน้าที่บริหารจัดการ ระบบเครือข่าย ดูแลรักษาความปลอดภัยภายในองค์กร  ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (Webmaster) ทาหน้าที่ดูแลและคอยควบคุม ทิศทางของเว็บไซต์ ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยอยู่เสมอ  เจ้าหน้าที่เทคนิค ( Technician) ทาหน้าที่ดูแล รักษา อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั้ง ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ 1.6 อาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร