ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
หลักการถนอมและหลักการถนอมและ
แปรรูปอาหารเบื้องต้นแปรรูปอาหารเบื้องต้น
นางสาวณัฏฐิญา กัญญสกุล
อาจารย์ผู้สอน
ถนอมอาหารถนอมอาหาร (( FoodFood
PreservationPreservation))
หมายถึง การเก็บรักษา
อาหารโดยวิธีต่าง ๆ ให้อยู่ใน
สภาพที่ใกล้เคียงกับของสด
มากที่สุด แต่ยังคงคุณลักษณะ
ทางคุณภาพซึ่งเป็นที่ต้องการ
ของผู้บริโภค
การแปรรูปอาหารการแปรรูปอาหาร (( FoodFood
ProcessingProcessing))
หมายถึง การนำาอาหารมา
ผ่านกระบวนการ
ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์
อาหารที่มีลักษณะตามต้องการ
มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้
บริโภค และบริโภคได้อย่าง
ปลอดภัย อีกทั้งยังเป็นการ
เตรียมอาหารให้เหมาะกับการ
ความสำาคัญของการถนอมความสำาคัญของการถนอม
อาหารอาหาร
1. ช่วยบรรเทาความขาดแคลนอาหาร เช่น
การเก็บรักษา และแปรรูปอาหารในยามสงคราม
เกิดภัยธรรมชาติ เกิดภาวะแห้งแล้งผิดปกติ
2. ช่วยให้เกิดการกระจายอาหาร เพราะใน
บางประเทศไม่สามารถผลิตอาหารให้เพียงพอ
ต่อความต้องการของประชากรได้ จึงจำาเป็นต้อง
อาศัยอาหารจากแหล่งผลิตอื่น
3. ช่วยให้มีอาหารบริโภคนอกฤดูกาล เช่น
เมื่อพ้นฤดูการผลิตของผลิตผลเกษตรนั้นๆ ไป
แล้ว ก็ยังสามารถนำาผลิตภัณฑ์ที่เก็บไว้มา
บริโภคได้
4. ใช้อาหารเหลือให้เกิดประโยชน์ เช่น ใน
ความสำาคัญของการถนอมความสำาคัญของการถนอม
อาหารอาหาร
5. ช่วยให้เกิดความสะดวกในการขนส่ง
โดยที่อาหารไม่เน่าเสีย สามารถพกพาไปที่ห่าง
ไกลได้
6. ช่วยยืดอายุการเก็บอาหารไว้ให้ได้
นาน เพราะอาหารที่ผ่านการแปรรูปเพื่อการ
ถนอมอาหารไว้จะมีอายุการเก็บที่ยาวนานกว่า
อาหารสด
7. ช่วยเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
และลดปัญหาผลผลิตล้นตลาด
วิธีการถนอมอาหารวิธีการถนอมอาหาร
1. การถนอมอาหารโดยใช้ความร้อน
Heat
2. การถนอมอาหารโดยใช้ความเย็น
Low Temperature
3. การถนอมอาหารโดยการหมักดอง
Fermentation
4. การถนอมอาหารโดยการใช้สารเคมี
Chemicals
5. การถนอมอาหารโดยการใช้รังสี
1.1. การถนอมอาหารโดยใช้การถนอมอาหารโดยใช้
ความร้อนความร้อน
(Food Preservation by(Food Preservation by Heat)Heat)
ความร้อนจะสามารถทำาลายจุลินทรีย์ และ
เอนไซม์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติในอาหารได้
แต่ก็จะทำาให้โปรตีนเปลี่ยนสภาพไปด้วย
การใช้ความร้อนระดับพลาสเจอร์การใช้ความร้อนระดับพลาสเจอร์
ไรซ์ไรซ์ (pasteurization)(pasteurization)
เป็นกระบวนการให้ความร้อนที่ไม่รุนแรง
โดยอุณหภูมิที่ใช้จะตำ่ากว่า 100 o
C เพื่อยืด
อายุของผลิตภัณฑ์อาหารให้นานหลายวัน
เป็นการยับยั้งการทำางานของเอนไซม์ และ
ทำาลายจุลินทรีย์ที่มีความทนทานต่อความ
ร้อนตำ่า
การใช้ความร้อนระดับสเตอริไลซ์การใช้ความร้อนระดับสเตอริไลซ์
(sterilization)(sterilization)
เป็นการทำาให้อาหารปราศจากเชื้อโรคที่เป็น
อันตรายต่อผู้บริโภค และทำาลายจุลินทรีย์
หรือสปอร์ที่เป็นสาเหตุทำาให้เกิดการเน่า โดย
ความร้อนในการสเตอริไลซ์จะสูงกว่าจุดเดือด
คือประมาณ 100-130 o
C
วิธีนี้จึงเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น การทำา
อาหารกระป๋อง การสเทอริไลซ์นำ้านมโดย
กระบวนการ UHT - Ultra High Temperature) โดยจะ
ใช้อุณหภูมิ 135-150 o
C เป็นเวลา 1-4 วินาที
2.2. การถนอมอาหารโดยใช้ความการถนอมอาหารโดยใช้ความ
เย็นเย็น
(Food Preservation by(Food Preservation by LowLow
Temperature)Temperature)เป็นการลดอุณหภูมิของอาหารลงให้ตำ่า
กว่า 10 o
C เพื่อทำาให้ การเจริญของ
จุลินทรีย์รวมทั้งกิจกรรมของเอนไซม์เกิดได้
ช้า จึงเป็นการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์
ชะลอการเน่าเสีย ทำาให้สามารถยืดอายุการ
เก็บรักษาอาหารได้ระยะหนึ่ง
1.1. การแช่เย็นการแช่เย็น (chilling)(chilling)
เป็นกรรมวิธีที่ควบคุมอุณหภูมิของอาหาร
ไว้ที่อุณหภูมิ -1 o
C ถึง 8 o
C เพื่อลดอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมี และการ
เปลี่ยนแปลงเนื่องจาก จุลินทรีย์ วิธีนี้จะ
ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณค่าทาง
โภชนาการ และคุณสมบัติทางประสาท
สัมผัสน้อยที่สุด โดยมักจะใช้การแช่เย็น
ควบคู่กับกรรมวิธีแปรรูปอื่นๆ เช่น การหมัก
การฉายรังสี
ควบคุมความชื้น, อุณหภูมิ การหมุนเวียน
2.2. การแช่เยือกแข็งการแช่เยือกแข็ง
(freezing)(freezing)
การแช่เยือกแข็งเป็นกรรมวิธีการลด
อุณหภูมิของอาหารให้ตำ่าลงกว่าจุดเยือกแข็ง
โดยส่วนของนำ้าจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นผลึก
นำ้าแข็ง การตรึงนำ้ากับนำ้าแข็ง และผลจาก
ความเข้มข้นของตัวทำาละลายในนำ้าที่ยังไม่
แข็งตัวจะทำาให้ค่า water activity ของ
อาหารลดลง จุลินทรีย์จึงไม่สามารถนำานำ้ามา
ใช้ในการเจริญได้ สำาหรับอาหารที่นิยมแช่
เยือกแข็ง ได้แก่ อาหารทะเล เช่น กุ้ง
เนื้อปู
3.3. การถนอมอาหารโดยการการถนอมอาหารโดยการ
หมักดองหมักดอง
(Food Preservation by(Food Preservation by FermentationFermentation))
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
จุลินทรีย์ย่อยสลายคาร์โบไฮเดรตหรือสารอื่น
ภายใต้สภาวะที่มีหรือไม่มีอากาศ
การหมักดองจะทำาให้ pH ของอาหารลดตำ่าลง
ซึ่งจะเป็นการป้องกันไม่ให้เชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อ
ให้เกิดโรคเจริญได้
5.5. การถนอมอาหารโดยการใช้การถนอมอาหารโดยการใช้
สารเคมีสารเคมี
((Food Preservation byFood Preservation by
ChemicalsChemicals))มีจุดประสงค์เพื่อยึดอายุการเก็บรักษา
อาหาร โดยมีผลยับยั้งการเน่าเสียเนื่องจาก
จุลินทรีย์ สารเคมีที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของ
จุลินทรีย์ ได้แก่ เกลือ นำ้าตาล กรด สารกัน
เสีย สารกันหืน
6.6. การถนอมอาหารโดยการใช้การถนอมอาหารโดยการใช้
รังสีรังสี
((Food Preservation byFood Preservation by RadiationRadiation oror
FoodFood Irradiation)Irradiation)
การฉายรังสีอาหารเป็นวิธีการถนอมอาหาร
ที่ต้องการเลี่ยงการใช้ความร้อน เนื่องจาก
ความร้อนสามารถเปลี่ยนแปลงสมบัติด้าน
ประสาทสัมผัสของอาหารนั้นๆ ได้ รังสีชนิด
ที่แตกตัวได้ (ionizing radiation) ที่มี
ช่วงคลื่นสั้น
สามารถที่จะยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์
การทำางานของเอนไซม์ และการเจริญ
เติบโตของไข่ และตัวอ่อนของแมลงได้ดี
ทั้งยังสามารถป้องกันการงอกของผัก และ
รังสีที่ใช้ในการถนอมอาหารรังสีที่ใช้ในการถนอมอาหาร
มีมี 44 ชนิดคือชนิดคือ
รังสีแกมมา (gamma radiation)
รังสีเอกซ์ (x- radiation)
อิเล็กตรอนกำาลังสูง (high speed
electron)
รังสีเหนือม่วง (Ultra violet irradiation
UV)

More Related Content

สื่อ วิทย์ 7