ݺߣ
Submit Search
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
•
0 likes
•
239 views
Settapong-Broadband
Follow
บรอดแบนด์แห่งอนาคตในย่าน 700MHz ของ ประเทศไทย (Future Broadband for Thailand)
Read less
Read more
1 of 20
Download now
Download to read offline
More Related Content
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ 700 MHz future broadband
1.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ บรอดแบนด์แห่งอนาคตในย่าน 700MHz ของ ประเทศไทย (Future Broadband for Thailand) พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธาน กสทช.
2.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ คลื่นความถี่เป็นหนึ่งในทรัพยากรสื่อสารของประเทศที่มีความสาคัญยิ่ง ทั้งในองค์กรธุรกิจ สินค้า และ การให้บริการจานวนมาก ต่างอาศัยคลื่นความถี่เป็นทรัพยากรหลักในการดาเนินงานแทบทั้งนั้น ไม่ว่าจะ เป็นกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ กิจการโทรทัศน์ กิจการกระจายเสียง ตลอดจนการใช้อินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) เป็นต้น
3.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การเปลี่ยนผ่านระบบรับส่งสัญญาณโทรทัศน์จากแอนะล็อกสู่ดิจิทัลนั้น ได้ทาให้คลื่นความถี่บางส่วนว่างลง Digital Dividend หมายถึง คลื่นความถี่บางส่วนที่ว่างลงหลังจากการเปลี่ยนผ่านระบบรับส่งสัญญาณ โทรทัศน์ภาคพื้นดินจากระบบแอนะล็อกสู่ระบบดิจิทัลในทางปฏิบัติ คลื่นความถี่บางส่วนจะว่างลงได้ ก็ ต่อเมื่อการเปลี่ยนผ่านสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลประสบความสาเร็จ
4.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ คลื่นความถี่ Digital Dividend อยู่ในย่านความถี่ 700 MHz digital dividend ย่าน 700 MHz ยังเหมาะสม อย่างยิ่ง ในการนามาให้บริการอินเทอร์เน็ต บรอดแบนด์ทั้งในเขตเมืองและในชุมชนที่ ห่างไกล มีคุณลักษณะพิเศษ สามารถกระจาย ครอบคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้างได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และทะลุทะลวงสิ่งกีดขวาง ต่างๆได้เป็นอย่างดี การจัดสรรคลื่นความถี่ digital dividend ย่าน 700 MHz สู่กิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยนั้น จะก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจที่มากกว่ากิจการ โทรทัศน์อย่างมีนัยสาคัญ
5.
ในทางทฤษฎี คลื่นความถี่ Digital Dividend
นี้สามารถนาไปใช้งานได้ใน หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็ นการใช้ใน กิจการโทรทัศน์ต่อไป เพื่อเพิ่มจานวน ช่องรายการโทรทัศน์ คุณภาพของ ช่องสัญญาณ (เช่น HD) ช่องรายการสาม มิติ (3D) ตลอดจนการให้บริการโทรทัศน์ ผ่านโทรศัพท์มือถือ (mobile TV) เป็นต้น กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ลักษณะการนา Digital Dividend ไปใช้งาน แนวทางที่เป็นที่นิยมสูงสุดทั่วโลก คือ การนาคลื่นความถี่ Digital Dividend ไปใช้ในกิจการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ International Mobile Telecommunications (IMT) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กรระดับโลกจานวนมาก
6.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การบริหารจัดการคลื่นความถี่ Digital Dividend ถือเป็นการเปิดประตูสู่การเปลี่ยนแปลงครั้ง สาคัญของโลก ที่ทาให้หลายประเทศกล้าตัดสินใจเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานคลื่นความถี่จาก กิจการหนึ่งสู่อีกกิจการหนึ่ง แต่ต้องแลกมาด้วย ความยุ่งยากซับซ้อนทั้งในเชิงกฎหมาย ข้อบังคับ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมไปถึงแนวทางการชดเชยค่าเสียหายหรือ การต่อรองทางการค้า ทางกฎหมาย สาหรับผู้ที่มีสิทธิในการใช้งานคลื่นความถี่อยู่เดิม
7.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จากการศึกษาของสมาคมจีเอสเอ็ม (GSMA) เมื่อปี พ.ศ. 2556 พบว่า การจัดสรรคลื่นความถี่ย่าน 700 MHz สู่กิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยนั้น จะก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจที่มากกว่าการ จัดสรรคลื่นความถี่ให้แก่กิจการโทรทัศน์ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2563) อย่างมีนัยสาคัญ ดังนี้ การจัดสรรคลื่น Digital dividend ย่าน 700MHz ให้แก่ กิจการโทรคมนาคม การจัดสรรคลื่น Digital dividend ย่าน 700MHz ให้แก่ กิจการโทรทัศน์ จีดีพีเติบโต 15.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ (NPV) จีดีพีเติบโต 3.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ (NPV) รายได้ภาครัฐเติบโต 2.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ (NPV) รายได้ภาครัฐเติบโต กับ 0.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ (NPV) สร้างธุรกิจใหม่ 30,000 ธุรกิจ สร้างธุรกิจใหม่ 100 ธุรกิจ สร้างตาแหน่งงานใหม่ 58,000 ตาแหน่ง สร้างตาแหน่งงานใหม่ 3,000 ตาแหน่ง แหล่งข้อมูล: (BCG-GSMA, 2013)
8.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การจัดสรรคลื่นความถี่ย่าน 700 MHz ให้กับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ จะสร้างประโยชน์มหาศาล ในหลากหลายด้านต่อเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศไทย (BCG-GSMA, 2013)
9.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การจัดสรรคลื่นความถี่ย่าน 700 MHz ให้กับกิจการโทรทัศน์ จะสร้างประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย เพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (BCG-GSMA, 2013)
10.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ นอกจากนั้นการขยายตัวของเครือข่ายบรอดแบนด์ยังสร้างผลกระทบในเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญสาหรับ เศรษฐกิจและสังคมโดยรวมเช่นเดียวกัน โดยมีตัวเลขที่น่าสนใจดังนี้ เมื่อจานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์เพิ่มขึ้น 1000 คน จะมีจานวนตาแหน่งงานเพิ่มขึ้นประมาณ 80 ตาแหน่ง การเพิ่มขึ้น 10% ของอัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ จะส่งผลให้ GDP เพิ่ม 1% การเพิ่มขึ้นหนึ่งเท่าตัวของความเร็วอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ในประเทศ OECD จะทาให้ GDP เติบโตขึ้น 0.3%
11.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union) หรือ ITU ได้แบ่งพื้นที่ของโลก ออกเป็น 3 ภูมิภาค ตามความแตกต่างในการใช้งานคลื่นความถี่ย่าน UHF และเทคโนโลยีที่ใช้ในกิจการโทรทัศน์ของแต่ละ ภูมิภาคที่เป็นมาช้านาน โดยสามภูมิภาคดังกล่าวนี้ เรียกว่า Region 1 (ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา และตะวันออกกลาง) Region 2 (ทวีปอเมริกา) Region 3 (เอเชียแปซิฟิค) การแบ่งเขตภูมิภาคของ ITU (Ericsson, 2014) ประเทศใน Region 3 ส่วนใหญ่ กาหนดให้คลื่นความถี่ย่าน UHF ใช้ สาหรับกิจการเคลื่อนที่ร่วมกับกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์
12.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ องค์การโทรคมนาคมแห่งเอเชียแปซิฟิค (Asia-Pacific Telecommunity) หรือ APT ได้ทาการศึกษา เพิ่มเติมเพื่อสร้างย่านความถี่ 700 MHz ให้เป็นที่ยอมรับในฐานะย่านความถี่สาหรับ Digital Dividend ภายในภูมิภาคสาหรับย่านความถี่ 694/698-806 MHz หรือ APT700 AsiaPacific Telecom (APT) 700 MHz, 2 x 45MHz FDD plan (Band 28) (Ericsson,2014)
13.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ จานวนประชากรในประเทศที่ให้การสนับสนุน APT700 ทั่วโลก (รวมกัน) โดย สีฟ้า หมายถึงตัวเลขในประเทศที่ยืนยันการ สนับสนุนแล้ว ในขณะที่ สีแดง หมายถึงประเทศที่คาดว่าจะให้การสนับสนุนด้วย (Ericsson, 2014) ไม่เพียงเฉพาะประเทศในแถบเอเชียแปซิฟิค ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และละตินอเมริกาเท่านั้น แม้ในทวีปยุโรปเอง ยังเลือกที่จะสนับสนุนย่านความถี่นี้ด้วยเช่นเดียวกัน
14.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ แนวทางการดาเนินงานของ กสทช. ในการนาคลื่นความถี่ย่านนี้มาใช้ในกิจการโทรคมนาคม สาหรับประเทศไทย ย่านความถี่ digital dividend ที่เหมาะสมที่สุด คือ APT700 อยู่ ในช่วงความถี่ 698-806 MHz อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันประเทศไทยใช้ย่านความถี่ ช่วง 510 - 790 MHz สาหรับกิจการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ทั้งในระบบแอนะล็อกและ ดิจิทัล ซึ่งทับซ้อนกับย่าน APT700 อยู่เกือบทั้งหมด ซึ่งไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ ในระดับภูมิภาค แผนภาพแสดงคลื่นความถี่ที่เกี่ยวข้องกับ Digital dividend ในประเทศไทย โดยเปรียบเทียบระหว่างการใช้งานในปัจจุบันและข้อเสนอควรปรับปรุง เทียบกับย่าน APT700 (Band 28)
15.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ดังนั้นการเปลี่ยนลักษณะการใช้งานคลื่นความถี่ APT700 จากที่เคยใช้ในกิจการโทรทัศน์สู่กิจการ โทรคมนาคมนั้น จาเป็นต้องอาศัยการวางแผนเชิงกลยุทธ์ระยะยาวที่ชัดเจน เพราะถือเป็นการตัดสินใจเชิงนโยบายระดับชาติ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการที่ซับซ้อน
16.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กระบวนการเปลี่ยนผ่านไปสู่โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา จานวนผู้ชมโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายภาคพื้นดินมีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการ พัฒนาเทคโนโลยีทดแทนที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ไม่ว่าจะเป็นการรับชมโทรทัศน์ผ่านเคเบิ้ลทีวี หรือ ทีวี ดาวเทียม เช่นเดียวกับประเทศไทยที่มีแนวโน้มเป็นไปในแนวทางเดียวกัน แสดงสัดส่วนของครัวเรือนไทยในการรับชมโทรทัศน์ผ่านช่องทางต่างๆ ประจาปี 2557 (กสทช., 2557)
17.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ การเกิด Digital dividend จะเป็นไปได้ ก็ต่อเมื่อประชาชนหันไปรับชมโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ผ่านระบบดิจิทัลอย่างแพร่หลาย จนภาครัฐตัดสินใจยุติการรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ใน ระบบแอนะล็อก จึงจะมีคลื่นความถี่บางส่วนที่เหลือและสามารถกาหนดให้กับกิจการ โทรคมนาคมได้
18.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ ประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม และรองประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ - ปริญญาเอก: วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) จาก Florida Atlantic University สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมโทรคมนาคม) The George Washington University สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (MS in EE) (วิศวกรรมไฟฟ้า) Georgia Institute of Technology สหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร (เกียรตินิยมเหรียญทอง) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (นักเรียนเตรียม ทหารรุ่น 26, จปร. รุ่น 37) - มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
19.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ - เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารโทรคมนาคมจากโรงเรียนนาย ร้อยพระจุลจอมเกล้า - โล่ห์เกียรติยศจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าคะแนนสูงสุดในวิชาผู้นาทหาร - เกียรตินิยมปริญญาเอก Outstanding Academic Achievement จาก Tau Beta Pi Engineering Honor Society และ Phi Kappa Phi Honor Society - รางวัลเกียรติยศจักรดาว ประจาปี พ.ศ.2556 จากมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร - ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 25 Young Executives ที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในปี 2555 จากนิตยสาร GM - ประกาศเกียรติคุณ “โครงการวิทยาศาสตร์สู่ความเป็นเลิศ” พ.ศ. 2556 จากคณะกรรมาธิการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการสื่อสาร และโทรคมนาคม วุฒิสภา - ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 30 นักยุทธศาสตร์แห่งปีที่อยู่ในระดับผู้นาองค์กร ปี พ.ศ. 2556 จากนิตยสาร Strategy+MarketingMagazine - รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 16 ในฐานะองค์กรดีเด่น ประจาปี 2557 - ได้รับรางวัล “ผู้นาเสนองานวิจัยดีเด่น” จากสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2558 - ประกาศเกียรติคุณรางวัล "คนดี ความดี แทนคุณแผ่นดิน“ พ.ศ.2558 สาขาการสื่อสารโทรคมนาคม จาก คณะกรรมการรางวัลไทย
20.
กสทช. คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ขอบคุณครับ
Download