ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
รายงานเรื่อง ภาษาเกี่ยวกับ
      คอมพิวเตอร์

               เสนอ
      คูณครู สมร ตะระพันธ์

              จัดทาโดย
น.ส. ศิริพร     โมกศิริ เลขที่ 9   ม. 4/5
ภาษากับคอมพิวเตอร์
     ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับ
 คอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรมแต่ความ
  เป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น
  และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น
HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะ
ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์
 ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่า
                       เป็นภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ
  ภาษาระดับต่่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย
มากกว่าภาษาระดับต่่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล
 (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถน่าไปใช้งานหรือปฏิบัติตามค่าสั่งได้
  ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object
                      code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดค่าสั่งในภาษาเครื่อง
    ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-
  readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูก
   ออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็น
       ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
                                ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษามาร์กอัป
    ภาษามาร์กอัป (อังกฤษ: markup language) คือประเภท
 ภาษาคอมพิวเตอร์ที่แสดงทั้งข้อมูล และข้อมูลรูปแบบเข้าด้วยกัน
 โดยข้อมูลรูปแบบอธิบายถึงโครงสร้างหรือการแสดงผลซึ่งส่วนนี้
 เรียกว่า มาร์กอัป โดยจะอยู่รวมกับข้อมูลปกติ ภาษามาร์กอัปที่
รู้จักกันดีที่สุดคือ HTMLตามความเป็นมาแล้ว ภาษารูปแบบนี้ได้มี
    การใช้ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ในการติดต่อสื่อสารงานพิมพ์
              ระหว่างผู้เขียน บรรณาธิการ และเครื่องพิมพ์
ภาษาสอบถาม
ภาษาสอบถาม (Query language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่าหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS
       โดยภาษาประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structure Query
     Language: SQL) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบค่าสั่งที่คล้ายกับ
   ประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร แอนซีได้ประกาศให้ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง เป็น
      ภาษามาตรฐานส่าหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database managemen
   Systemหรือ RDBM) เป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบน ระบบการจัดการฐานข้อมูล
                                                                          ั
  เชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้ค่าสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน ๆ กัน แต่อาจมีค่าสั่งพิเศษที่แตกต่างกัน
     บ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา RDBMSของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่า
        ระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อก่าหนดของ แอนซี ซึ่งคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป
         ตัวอย่างค่าสั่ง และผลลัพธ์ DELETE ใช้ส่าหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
                   INSERt ใช้ส่าหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดเข้าไปในฐานข้อมูล
                 SELECT ใช้ส่าหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดที่ต้องการจากฐานข้อมูล
                         UPDATE ใช้ส่าหรับแก้ไขหรือแก้ไขเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
ภาษโปรแกรม
ภาษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ที่สามารถใช้ควบคุมกาหนดพฤติกรรมการทางานของ
   เครื่องจักรได้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมก็เหมือนภาษามนุษย์ที่จะต้องใช้
   วากยสัมพันธ์ (syntax) และความหมาย (semantic) เพื่อกาหนดโครงสร้างและ
   ตีความหมายตามลาดับ ภาษาโปรแกรมช่วยให้การสื่อสารในภารกิจสารสนเทศสะดวกมาก
   ขึ้นและถูกต้องแม่นยาตามขั้นตอนวิธี (algorithm) ในโลกนี้มีภาษาโปรแกรมมากกว่า
   8,500 ภาษาที่แตกต่างกันไปและก็ยังมีภาษาใหม่เกิดขึ้นทุกๆ ปี ผู้ที่ใช้งานภาษา
   โปรแกรมเพื่อเขียนโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer)ภาษาโปรแกรมใน
   ยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยในยุคนั้น ภาษาโปรแกรม
   ถูกใช้เพื่อควบคุมการทางานของเครื่องจักรทอผ้าของแจ็คการ์ด และเครื่องเล่นเปียโน มี
   ภาษาโปรแกรมมากมายหลายพันภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์
   และสาหรับวงการอื่น ๆ ภาษาโปรแกรมก็เกิดเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่จะ
   อธิบายการคิดคานวณในรูปแบบเชิงคาสั่ง เช่น ชุดลาดับคาสั่ง แม้ว่าบางภาษา เช่น ภาษา
   ที่สนับสนุนการโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการโปรแกรมเชิงตรรกะ จะใช้การอธิบายใน
   รูปแบบอื่น
ลักษณะของภาษาโปรแกรม

ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาสามารถพิจารณาว่าเป็นเซตของข้อกาหนดอย่างเป็น
               ทางการของวากยสัมพันธ์ ศัพท์ และความหมาย
                       ข้อกาหนดเหล่านี้มักรวมถึง:
                        ข้อมูล และโครงสร้างข้อมูล
                       คาสั่ง และลาดับการทางาน
                          ปรัชญาในการออกแบบ
                         สถาปัตยกรรมของภาษา
 ภาษาส่วนใหญ่ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง หรือมีการใช้งานในระยะเวลา
   พอสมควร จะมีกลุ่มทางานเพื่อสร้างมาตรฐาน ซึ่งมักจะมีการพบปะกันเป็น
   ระยะๆ เพื่อสร้างและจัดพิมพ์นิยามอย่างเป็นทางการของภาษา รวมถึงการ
                          ปรับปรุงเพิ่มเติมภาษาด้วย

More Related Content

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5

  • 1. รายงานเรื่อง ภาษาเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ เสนอ คูณครู สมร ตะระพันธ์ จัดทาโดย น.ส. ศิริพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม. 4/5
  • 2. ภาษากับคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับ คอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรมแต่ความ เป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะ ไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่า เป็นภาษาโปรแกรม
  • 3. ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ ภาษาระดับต่่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย มากกว่าภาษาระดับต่่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถน่าไปใช้งานหรือปฏิบัติตามค่าสั่งได้ ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดค่าสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human- readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูก ออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็น ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
  • 4. ภาษามาร์กอัป ภาษามาร์กอัป (อังกฤษ: markup language) คือประเภท ภาษาคอมพิวเตอร์ที่แสดงทั้งข้อมูล และข้อมูลรูปแบบเข้าด้วยกัน โดยข้อมูลรูปแบบอธิบายถึงโครงสร้างหรือการแสดงผลซึ่งส่วนนี้ เรียกว่า มาร์กอัป โดยจะอยู่รวมกับข้อมูลปกติ ภาษามาร์กอัปที่ รู้จักกันดีที่สุดคือ HTMLตามความเป็นมาแล้ว ภาษารูปแบบนี้ได้มี การใช้ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ในการติดต่อสื่อสารงานพิมพ์ ระหว่างผู้เขียน บรรณาธิการ และเครื่องพิมพ์
  • 5. ภาษาสอบถาม ภาษาสอบถาม (Query language) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่าหรับสอบถามหรือจัดการกับข้อมูลใน DBMS โดยภาษาประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง (Structure Query Language: SQL) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบค่าสั่งที่คล้ายกับ ประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร แอนซีได้ประกาศให้ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง เป็น ภาษามาตรฐานส่าหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database managemen Systemหรือ RDBM) เป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบน ระบบการจัดการฐานข้อมูล ั เชิงสัมพันธ์ทุกระบบจะใช้ค่าสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือน ๆ กัน แต่อาจมีค่าสั่งพิเศษที่แตกต่างกัน บ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนา RDBMSของตนเองให้มีลักษณะที่เด่นกว่า ระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกินข้อก่าหนดของ แอนซี ซึ่งคิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้าไป ตัวอย่างค่าสั่ง และผลลัพธ์ DELETE ใช้ส่าหรับลบข้อมูลหรือลบเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล INSERt ใช้ส่าหรับเพิ่มข้อมูลหรือเพิ่มเรคอร์ดใดเข้าไปในฐานข้อมูล SELECT ใช้ส่าหรับเลือกข้อมูลหรือเลือกเรคอร์ดที่ต้องการจากฐานข้อมูล UPDATE ใช้ส่าหรับแก้ไขหรือแก้ไขเรคอร์ดใดในฐานข้อมูล
  • 6. ภาษโปรแกรม ภาษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ที่สามารถใช้ควบคุมกาหนดพฤติกรรมการทางานของ เครื่องจักรได้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมก็เหมือนภาษามนุษย์ที่จะต้องใช้ วากยสัมพันธ์ (syntax) และความหมาย (semantic) เพื่อกาหนดโครงสร้างและ ตีความหมายตามลาดับ ภาษาโปรแกรมช่วยให้การสื่อสารในภารกิจสารสนเทศสะดวกมาก ขึ้นและถูกต้องแม่นยาตามขั้นตอนวิธี (algorithm) ในโลกนี้มีภาษาโปรแกรมมากกว่า 8,500 ภาษาที่แตกต่างกันไปและก็ยังมีภาษาใหม่เกิดขึ้นทุกๆ ปี ผู้ที่ใช้งานภาษา โปรแกรมเพื่อเขียนโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer)ภาษาโปรแกรมใน ยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยในยุคนั้น ภาษาโปรแกรม ถูกใช้เพื่อควบคุมการทางานของเครื่องจักรทอผ้าของแจ็คการ์ด และเครื่องเล่นเปียโน มี ภาษาโปรแกรมมากมายหลายพันภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสาหรับวงการอื่น ๆ ภาษาโปรแกรมก็เกิดเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่จะ อธิบายการคิดคานวณในรูปแบบเชิงคาสั่ง เช่น ชุดลาดับคาสั่ง แม้ว่าบางภาษา เช่น ภาษา ที่สนับสนุนการโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการโปรแกรมเชิงตรรกะ จะใช้การอธิบายใน รูปแบบอื่น
  • 7. ลักษณะของภาษาโปรแกรม ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาสามารถพิจารณาว่าเป็นเซตของข้อกาหนดอย่างเป็น ทางการของวากยสัมพันธ์ ศัพท์ และความหมาย ข้อกาหนดเหล่านี้มักรวมถึง: ข้อมูล และโครงสร้างข้อมูล คาสั่ง และลาดับการทางาน ปรัชญาในการออกแบบ สถาปัตยกรรมของภาษา ภาษาส่วนใหญ่ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง หรือมีการใช้งานในระยะเวลา พอสมควร จะมีกลุ่มทางานเพื่อสร้างมาตรฐาน ซึ่งมักจะมีการพบปะกันเป็น ระยะๆ เพื่อสร้างและจัดพิมพ์นิยามอย่างเป็นทางการของภาษา รวมถึงการ ปรับปรุงเพิ่มเติมภาษาด้วย