ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ 3 ผังงาน
3.1 ผังงานเบื้องต้น
3.2 ตัวแปร
3.3 สัญลักษณ์เชื่อมต่อ
3.4 รูปแบบของข้อความสั่งทาง
คณิตศาสตร์
3.5 ชนิดของตัวแปร
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw2
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ความหมายของผังงาน
ผังงาน หมายถึง ภาพที่แสดงลำาดับขั้นตอนในการ
แก้ปัญหา ส่วนรหัสเทียมก็สามารถสื่อความหมาย
เช่นเดียวกันโดยใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งไม่จำาเป็นจะ
ต้องถูกต้องตามวากยสัมพันธ์ของภาษาที่เขียน
โปรแกรม
โปรแกรมคอมพิวเตอร์แทบทุกโปรแกรมประกอบ
ด้วย
การนำาเข้า (input)
การประมวลผล (process)
และการนำาออก (output)
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw3
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวอย่าง
• Get number
• Answer = number * 2
• Print answer
Get number
Answer=
Number*2
Print answer
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw4
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวอย่างผังงานที่สมบูรณ์
ผังงานจะต้องมี
ลูกศร
การอ่านจะต้อง
อ่านจากบน
ลงล่างตาม
ลูกศร
ผังงานควรมีการ
ตรวจสอบ
ผังงานสามารถ
นำาไปเขียน
กับภาษา
อะไรก็ได้
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw5
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
Simpledouble.c
//Program simpledouble.c
#include<stdio.h>
main()
{
int Number , Answer ;
printf(“Please input Number =” );
scanf(“%d”,&Number) ;
Answer = Number*2 ;
printf(“Answer = %dn”,Answer) ;
}
// เริ่มต้นโปรแกรม
// เรียกใช้พรีโปรเซสเซ
อร์ไดเร็คทีฟ
// สร้างตัวแปรชนิด
integer
// คือ GET NUMBER
// คือ การนำาค่า
Number คูณด้วย 2
แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน
ตัวแปร Answer
// Print Answer คิอ การ
แสดงค่าที่อยู่ในตัวแปร
Answer
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw6
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวแปร
• โปรแกรมเมอร์เรียกตำำแหน่งใน
หน่วยควำมจำำที่เก็บค่ำ number
และ answer ว่ำ ตัวแปร
• ตัวแปรแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
ตัวแปรตัวเลข ตัวแปรอักขระ
• ตัวแปรตัวเลข (numeric variable)
เป็นตัวแปรที่ใช้แทนตัวเลขใน
ประโยค เช่น Answer =
number * 2
• ตัวแปรอักขระ (character
variable) ใช้กับตัวอักษร
Name = “Washington”
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw7
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวแปรในภำษำซี
• กำรเก็บค่ำตัวแปรในภำษำซีมี 2
ลักษณะคือ
– เก็บค่ำแบบค่ำคงที่(constant)
– เก็บค่ำแบบตัวแปร(variable)
• ค่ำคงที่เมื่อสร้ำงขึ้นมำแล้วเรำจะ
ไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงแก้ไขค่ำ
ได้เลย เช่น a=20;
• กำรเก็บค่ำแบบตัวแปรสำมำรถ
เปลี่ยนแปลงค่ำเป็นอะไรก็ได้ตำม
ที่ต้องกำร เช่น char ch;
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw8
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
กำรเก็บค่ำในภำษำซี
• กำรสร้ำงตัวแปรจะต้องทรำบว่ำ
ตัวแปรนั้นเก็บค่ำอะไร เช่น
เลขจำำนวนเต็ม เลขทศนิยม
ข้อควำม หรือตัวอักษร เป็นต้น
โดยแบ่งออกเป็นประเภทดังนี้
– Character Variable ตัวแปรที่
ใช้เก็บอักขระ “A”
– Integer Variable ตัวแปรที่ใช้
เก็บเลขจำำนวนเต็ม 0, 23, -9
– Float Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บ
เลขจำำนวนทศนิยม 19.172
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw9
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
Character Variable
• แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
– Char เก็บค่ำ ASCII ของตัวอักษรได้
ตั้งแต่ -128 ถึง 127
– Unsigned char เก็บค่ำ ASCII ของ
ตัวอักษรได้ตั้งแต่ 0-255
• ตัวแปรแบบ character จะใช้ใน
กรณีที่เรำต้องกำรเก็บอักขระ 1
ตัว เช่น a,b หรือ c เป็นต้น สิ่งที่
เรำเก็บก็คือ ตัวอักษร 1 ตัว ซึ่งมี
ค่ำ ASCII อยู่ระหว่ำง 0 ถึง 255
ดังนั้นถ้ำเรำประกำศตัวแปรแบบ
char เรำจะใช้ตัวแปรนั้นเก็บ
ข้อมูลได้เป็นค่ำใดค่ำหนึ่งในรหัส
ASCII เท่ำนั้น
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw10
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
Integer Variable
• แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
– int หรือ short เก็บเลขจำำนวน
เต็มตั้งแต่
-32,768 ถึง 32,767
– Long เก็บเลขจำำนวนเต็มตั้งแต่
-2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
• วิธีกำรใช้คือถ้ำต้องกำร
ตัวเลขจำำนวนเต็มมำกกว่ำ
32,767 เรำจะต้องประกำศ
ตัวแปรแบบ long ถ้ำน้อย
กว่ำก็ประกำศแบบ int ดัง
ตัวอย่ำง
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw11
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวอย่าง integer variable
• int a,b,c;
• int age;
• int height;
• long salary,money;
• เราประกาศตัวแปร a,b,c
age height แบบ int
เนื่องจาก ต้องการให้เก็บ
ค่าที่อยู่ระหว่าง -32,768 ถึง
32,767 เท่านั้น แต่ salary
และ money มีโอกาสจะมีค่า
มากกว่า นั้นดังนั้นจึงต้อง
ประกาศเป็น long
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw12
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
Float Variable
• แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
– Float เก็บทศนิยมได้ 3.4E+/-
38 (ทศนิยม 7 ตำาแหน่ง)
– Double เก็บทศนิยมได้
1.7E+/-308 (ทศนิยม 15
ตำาแหน่ง)
– Long Double เก็บทศนิยมได้
1.2E+/-4932 (ทศนิยม 19
ตำาแหน่ง)
• float grade;
• double rate;
• long double longrate;หมายเหตุ ยิ่งเก็บได้มากยิ่งเปลืองหน่วยความจำามาก
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw13
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
กฎการตั้งชื่อตัวแปร (สำาคัญ
มากๆ)
• ต้องไม่มีอักษรพิเศษใดๆ ประกอบอยู่
ด้วย เช่น ! @ # $ % ^ & * (
• สามารถใช้เครื่องหมาย underscore
( _ ) ได้
• ชื่อตัวแปรมีตัวเลขปนอยู่ได้ แต่ต้องไม่
ขึ้นต้นด้วยตัวเลข
• ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ
• ใช้ได้ทั้งพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่
• ชื่อเหมือนกันแต่เป็นพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่
ถือว่าคนละชื่อกัน
• ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวน เช่น char
long while do
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw14
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2
#include<stdio.h
>
void main()
{
int age;
char sex;
float grade;
age = 20;
sex = ‘f’;
grade = 3.14;
}
#include<stdio.h
>
void main()
{
int age = 20;
char sex = ‘f’;
float grade =
3.14;
}
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw15
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวแปรข้อความที่เรียกว่า สตริง
String
• นำาตัวแปร char มาเรียงต่อกันเรียกว่า
ตัวแปรแบบสตริง(String)
• การประกาศตัวแปรแบบสตริง จะต้อง
กำาหนดขนาดของ char ดังตัวอย่าง
char name[15] = “Jacky Chan”;
• ตัวแปรชื่อ name มีความยาว 15 ช่องตัว
อักษร และเก็บข้อความ Jacky Chan เอา
ไว้ ซึ่งการประกาศตัวแปร 15 ช่องเอาไว้
ที่เหลือจะเป็นช่องว่างเฉยๆ ไม่มีตัว
อักษรบรรจุอยู่
J a c k y C h a n
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw16
COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH
ตัวอย่าง
#include<stdio.h>
void main()
{
int age = 20;
char sex = ‘f’;
float grade = 3.14;
char name[10] = “malee”;
printf(“You are %sn”,name);
printf(“You are %cn”,sex);
printf(“You are %d years oldn”,age);
printf(“You grade is %fn”,grade);
}
You are malee
You are f
You are 20 years old
Your grade is 3.140000
END OF CHEPTER 3
ANY QUESTION ?

More Related Content

4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7

  • 1. บทที่ 3 ผังงาน 3.1 ผังงานเบื้องต้น 3.2 ตัวแปร 3.3 สัญลักษณ์เชื่อมต่อ 3.4 รูปแบบของข้อความสั่งทาง คณิตศาสตร์ 3.5 ชนิดของตัวแปร
  • 2. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw2 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ความหมายของผังงาน ผังงาน หมายถึง ภาพที่แสดงลำาดับขั้นตอนในการ แก้ปัญหา ส่วนรหัสเทียมก็สามารถสื่อความหมาย เช่นเดียวกันโดยใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งไม่จำาเป็นจะ ต้องถูกต้องตามวากยสัมพันธ์ของภาษาที่เขียน โปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์แทบทุกโปรแกรมประกอบ ด้วย การนำาเข้า (input) การประมวลผล (process) และการนำาออก (output)
  • 3. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw3 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวอย่าง • Get number • Answer = number * 2 • Print answer Get number Answer= Number*2 Print answer
  • 4. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw4 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวอย่างผังงานที่สมบูรณ์ ผังงานจะต้องมี ลูกศร การอ่านจะต้อง อ่านจากบน ลงล่างตาม ลูกศร ผังงานควรมีการ ตรวจสอบ ผังงานสามารถ นำาไปเขียน กับภาษา อะไรก็ได้
  • 5. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw5 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH Simpledouble.c //Program simpledouble.c #include<stdio.h> main() { int Number , Answer ; printf(“Please input Number =” ); scanf(“%d”,&Number) ; Answer = Number*2 ; printf(“Answer = %dn”,Answer) ; } // เริ่มต้นโปรแกรม // เรียกใช้พรีโปรเซสเซ อร์ไดเร็คทีฟ // สร้างตัวแปรชนิด integer // คือ GET NUMBER // คือ การนำาค่า Number คูณด้วย 2 แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน ตัวแปร Answer // Print Answer คิอ การ แสดงค่าที่อยู่ในตัวแปร Answer
  • 6. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw6 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวแปร • โปรแกรมเมอร์เรียกตำำแหน่งใน หน่วยควำมจำำที่เก็บค่ำ number และ answer ว่ำ ตัวแปร • ตัวแปรแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ตัวแปรตัวเลข ตัวแปรอักขระ • ตัวแปรตัวเลข (numeric variable) เป็นตัวแปรที่ใช้แทนตัวเลขใน ประโยค เช่น Answer = number * 2 • ตัวแปรอักขระ (character variable) ใช้กับตัวอักษร Name = “Washington”
  • 7. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw7 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวแปรในภำษำซี • กำรเก็บค่ำตัวแปรในภำษำซีมี 2 ลักษณะคือ – เก็บค่ำแบบค่ำคงที่(constant) – เก็บค่ำแบบตัวแปร(variable) • ค่ำคงที่เมื่อสร้ำงขึ้นมำแล้วเรำจะ ไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงแก้ไขค่ำ ได้เลย เช่น a=20; • กำรเก็บค่ำแบบตัวแปรสำมำรถ เปลี่ยนแปลงค่ำเป็นอะไรก็ได้ตำม ที่ต้องกำร เช่น char ch;
  • 8. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw8 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH กำรเก็บค่ำในภำษำซี • กำรสร้ำงตัวแปรจะต้องทรำบว่ำ ตัวแปรนั้นเก็บค่ำอะไร เช่น เลขจำำนวนเต็ม เลขทศนิยม ข้อควำม หรือตัวอักษร เป็นต้น โดยแบ่งออกเป็นประเภทดังนี้ – Character Variable ตัวแปรที่ ใช้เก็บอักขระ “A” – Integer Variable ตัวแปรที่ใช้ เก็บเลขจำำนวนเต็ม 0, 23, -9 – Float Variable ตัวแปรที่ใช้เก็บ เลขจำำนวนทศนิยม 19.172
  • 9. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw9 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH Character Variable • แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ – Char เก็บค่ำ ASCII ของตัวอักษรได้ ตั้งแต่ -128 ถึง 127 – Unsigned char เก็บค่ำ ASCII ของ ตัวอักษรได้ตั้งแต่ 0-255 • ตัวแปรแบบ character จะใช้ใน กรณีที่เรำต้องกำรเก็บอักขระ 1 ตัว เช่น a,b หรือ c เป็นต้น สิ่งที่ เรำเก็บก็คือ ตัวอักษร 1 ตัว ซึ่งมี ค่ำ ASCII อยู่ระหว่ำง 0 ถึง 255 ดังนั้นถ้ำเรำประกำศตัวแปรแบบ char เรำจะใช้ตัวแปรนั้นเก็บ ข้อมูลได้เป็นค่ำใดค่ำหนึ่งในรหัส ASCII เท่ำนั้น
  • 10. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw10 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH Integer Variable • แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ – int หรือ short เก็บเลขจำำนวน เต็มตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 – Long เก็บเลขจำำนวนเต็มตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 • วิธีกำรใช้คือถ้ำต้องกำร ตัวเลขจำำนวนเต็มมำกกว่ำ 32,767 เรำจะต้องประกำศ ตัวแปรแบบ long ถ้ำน้อย กว่ำก็ประกำศแบบ int ดัง ตัวอย่ำง
  • 11. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw11 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวอย่าง integer variable • int a,b,c; • int age; • int height; • long salary,money; • เราประกาศตัวแปร a,b,c age height แบบ int เนื่องจาก ต้องการให้เก็บ ค่าที่อยู่ระหว่าง -32,768 ถึง 32,767 เท่านั้น แต่ salary และ money มีโอกาสจะมีค่า มากกว่า นั้นดังนั้นจึงต้อง ประกาศเป็น long
  • 12. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw12 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH Float Variable • แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ – Float เก็บทศนิยมได้ 3.4E+/- 38 (ทศนิยม 7 ตำาแหน่ง) – Double เก็บทศนิยมได้ 1.7E+/-308 (ทศนิยม 15 ตำาแหน่ง) – Long Double เก็บทศนิยมได้ 1.2E+/-4932 (ทศนิยม 19 ตำาแหน่ง) • float grade; • double rate; • long double longrate;หมายเหตุ ยิ่งเก็บได้มากยิ่งเปลืองหน่วยความจำามาก
  • 13. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw13 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH กฎการตั้งชื่อตัวแปร (สำาคัญ มากๆ) • ต้องไม่มีอักษรพิเศษใดๆ ประกอบอยู่ ด้วย เช่น ! @ # $ % ^ & * ( • สามารถใช้เครื่องหมาย underscore ( _ ) ได้ • ชื่อตัวแปรมีตัวเลขปนอยู่ได้ แต่ต้องไม่ ขึ้นต้นด้วยตัวเลข • ห้ามมีช่องว่างระหว่างชื่อ • ใช้ได้ทั้งพิมพ์เล็ก และพิมพ์ใหญ่ • ชื่อเหมือนกันแต่เป็นพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ ถือว่าคนละชื่อกัน • ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวน เช่น char long while do
  • 14. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw14 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 #include<stdio.h > void main() { int age; char sex; float grade; age = 20; sex = ‘f’; grade = 3.14; } #include<stdio.h > void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; }
  • 15. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw15 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวแปรข้อความที่เรียกว่า สตริง String • นำาตัวแปร char มาเรียงต่อกันเรียกว่า ตัวแปรแบบสตริง(String) • การประกาศตัวแปรแบบสตริง จะต้อง กำาหนดขนาดของ char ดังตัวอย่าง char name[15] = “Jacky Chan”; • ตัวแปรชื่อ name มีความยาว 15 ช่องตัว อักษร และเก็บข้อความ Jacky Chan เอา ไว้ ซึ่งการประกาศตัวแปร 15 ช่องเอาไว้ ที่เหลือจะเป็นช่องว่างเฉยๆ ไม่มีตัว อักษรบรรจุอยู่ J a c k y C h a n 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
  • 16. Copyright (c) 2006 by Sasalak Tongkaw16 COMPUTER PROGRAMMING AND ALGORITH ตัวอย่าง #include<stdio.h> void main() { int age = 20; char sex = ‘f’; float grade = 3.14; char name[10] = “malee”; printf(“You are %sn”,name); printf(“You are %cn”,sex); printf(“You are %d years oldn”,age); printf(“You grade is %fn”,grade); } You are malee You are f You are 20 years old Your grade is 3.140000
  • 17. END OF CHEPTER 3 ANY QUESTION ?