3. 1.เขียน blog เหมือนกับเล่นเว็บบอร์ด
กฎข้อแรกของการสร้างเว็บไซต์ให้ติดตลาด คือ
ต้องทาให้ผู้ชมกลับมาเยี่ยมเว็บของเราอีกให้ได้
และวิธีที่ง่ายและได้ผลที่สุดคือ สร้างชุมชนของผู้ชม (Community)
ให้เกิดขึ้นบนเว็บของเรา
เพราะเหตุนี้จึงทาให้เว็บที่เน้นการสนทนาผ่านเว็บบอร์ดอย่าง
Pantip.com กลายเป็ นเว็บไซต์อันดับหนึ่งของเมืองไทยมาหลายปี
blog เป็ นการแสดงความคิดเห็นของเราให้คนอื่นอ่านวิธีหนึ่ง
เพียงแต่เป็ นเว็บบอร์ดส่วนตัวที่คนเขียนคือเจ้าของ blog เท่านั้น
(ผู้ชมสามารถแสดงความเห็นได้เป็ น comment)
2. เขียน blog ไม่ต้องระวังเท่าเว็บบอร์ด
จุดอ่อนของเว็บบอร์ดคือคนเยอะ และเมื่อเกิดความขัดแย้งกัน
ก็จะทะเลาะกันใหญ่โต Pantip.com
เจอปัญหานี้มากจนต้องตั้งระบบสมาชิกที่เข้มงวด
4. ทาให้ลาบากในการสมัคร blog เข้ามาทดแทนในจุดนี้ได้พอดี
เราสามารถเขียนอะไรลงใน blog ของเราก็ได้โดยไม่ต้องกลัวใครว่า
ไม่ต้องกลัวข้อมูลมั่ว (เพราะว่าเป็ น blog ของเรานี่นา)
ทาให้หลายๆ คนเกิดความสบายใจในการเขียน blog
มากกว่าเว็บบอร์ดที่มีคนมาคอยเถียงหรือจับผิด
3. blog มีเนื้อหาต่อเนื่อง
คนที่สนใจในเรื่องเดียวกันก็มักจะเข้าเว็บบอร์ดเฉพาะเรื่อง
แต่ปัญหาอีกอย่างของเว็บบอร์ดคือ กระทู้ตกเร็ว
และแต่ละกระทู้ไม่ต่อเนื่องกัน เพราะต่างคนต่างโพส แต่ blog
นั้นเป็ นของเจ้าของคนเดียว เขียนคนเดียว
สามารถควบคุมความต่อเนื่องของเนื้อหาได้สะดวกกว่า ยิ่งเจ้าของ
blog นั้นเป็ นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เราสนใจพอดี
นี่จะสนุกมากเลยครับ ได้อ่านอะไรๆ ที่วงในเค้ารู้กันได้จาก blog
นี่ล่ะ
4. มันก็เหมือนแอบอ่านไอดารี่คนอื่น
การแอบอ่านไดอารี่เป็ นอะไรที่ไม่ดีแต่สนุกมาก blog นั้นกลับกัน
เป็ นไดอารี่ที่อยากให้คนอื่นอ่าน ดังนั้นเจ้าของ blog จะประดิษฐ์