ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ภาษาซี 
วิวัฒนาการของภาษาซี 
- ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางาน บนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ และยังมีข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards) 
- ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้าง ภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรก ภาษา C ไม่เป็นที่นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก 
- ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้ เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า The C Programming Language และ หนังสือเล่มนี้ทาให้บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการ เขียน โปรแกรมมากขึ้น 
- แต่เดิมภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาคัญในการนามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกาหนดทิศ ทางการใช้ภาษา C ให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได้กาหนดข้อตกลงที่เรียกว่า 3J11 เพื่อสร้างภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C 
- ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่งห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้พัฒนาภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและ ความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบกาหนดวัตถุเป้าหมาย หรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็นแนวการ เขียนโปรแกรมที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มี ความสลับซับซ้อนมาก มีข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมจานวนมาก จึง นิยมใช้เทคนิคของการเขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนา โปรแกรมขนาดใหญ่ในปัจจุบันนี้ 
ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด้วย 
1. character (char) ใช้ 1 byte บน Dos มีค่า -128 ถึง127 นิยมใช้ เก็บตัวอักษร 1 ตัวอักษร 
2. integer (int) ใช้ 2 byte มีค่า -32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล้าย integer แต่เก็บด้วย ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4 byte 
3. float ใช้ 2 byte ใช้เก็บตัวเลขทศนิยม และยังมี double ซึ่ง คล้าย float แต่เก็บด้วยช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4 byte 
4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข้อมูลเป็น string แต่จะใช้สายของ อักษร หรือ Array ของ Char แทนความจริงแล้ว ชนิดของข้อมูล ยังสามารถจาแนกไปได้อีกมาก แต่ในที่นี้ขอแนะนาเพียงเท่านี้ ก่อน ก็เพียงพอ 
ภาษาซี มีลักษณะเด่น(ข้อดี) ดังนี้ 
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษา มาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับ ฮาร์ดแวร์ 
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรม โครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ 
- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทางานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็น สาคัญ 
- มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียน แทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทางานเหมือนภาษาระดับต่า 
- มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสาหรับการพัฒนา 
- เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม 
- เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทาให้ป็นภาษา ที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการ เขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้ 
ข้อเสีย 
- เป็นภาษาที่เรียนรู้ยาก 
- การตรวจสอบโปรแกรมทาได้ยาก 
- ไม่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการออกรายงาน ที่มีรูปแบบซับซ้อนมากๆ

More Related Content

ภาษา

  • 1. ภาษาซี วิวัฒนาการของภาษาซี - ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางาน บนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ไม่ได้ และยังมีข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards) - ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้าง ภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรก ภาษา C ไม่เป็นที่นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก - ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้ เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า The C Programming Language และ หนังสือเล่มนี้ทาให้บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการ เขียน โปรแกรมมากขึ้น - แต่เดิมภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาคัญในการนามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกาหนดทิศ ทางการใช้ภาษา C ให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได้กาหนดข้อตกลงที่เรียกว่า 3J11 เพื่อสร้างภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C - ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่งห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้พัฒนาภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและ ความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบกาหนดวัตถุเป้าหมาย หรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็นแนวการ เขียนโปรแกรมที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มี ความสลับซับซ้อนมาก มีข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมจานวนมาก จึง นิยมใช้เทคนิคของการเขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนา โปรแกรมขนาดใหญ่ในปัจจุบันนี้ ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด้วย 1. character (char) ใช้ 1 byte บน Dos มีค่า -128 ถึง127 นิยมใช้ เก็บตัวอักษร 1 ตัวอักษร 2. integer (int) ใช้ 2 byte มีค่า -32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล้าย integer แต่เก็บด้วย ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4 byte 3. float ใช้ 2 byte ใช้เก็บตัวเลขทศนิยม และยังมี double ซึ่ง คล้าย float แต่เก็บด้วยช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4 byte 4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข้อมูลเป็น string แต่จะใช้สายของ อักษร หรือ Array ของ Char แทนความจริงแล้ว ชนิดของข้อมูล ยังสามารถจาแนกไปได้อีกมาก แต่ในที่นี้ขอแนะนาเพียงเท่านี้ ก่อน ก็เพียงพอ ภาษาซี มีลักษณะเด่น(ข้อดี) ดังนี้ - เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษา มาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับ ฮาร์ดแวร์ - เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรม โครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ - เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทางานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็น สาคัญ - มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียน แทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทางานเหมือนภาษาระดับต่า - มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสาหรับการพัฒนา - เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีใน เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม - เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทาให้ป็นภาษา ที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการ เขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้ ข้อเสีย - เป็นภาษาที่เรียนรู้ยาก - การตรวจสอบโปรแกรมทาได้ยาก - ไม่เหมาะกับการเขียนโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการออกรายงาน ที่มีรูปแบบซับซ้อนมากๆ