ݺߣ
Submit Search
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
•
2 likes
•
13,276 views
T
Thanaphat Tachaphan
Follow
วิชา การบรรจุภัณฑ์สำหรับการจัดการโลจิสติกส์
Read less
Read more
1 of 32
Download now
Downloaded 178 times
More Related Content
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
1.
Chapter 4 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์ อาจารย์ธนภัทร์ ธชพันธ์
2.
เนื้อหาในบทเรียน • บรรจุภัณฑ์กับประสิทธิภาพการเคลื่อนย้าย (Packaging for
handling Efficiency) – การออกแบบบรรจุภัณฑ์ – การใช้ประโยชน์ปริมาตรยานพาหนะ – การรวมหน่วยสินค้า – ประโยชน์การรวมเป็นหน่วยบรรทุก – วิธีรวมหน่วยสินค้า – การสื่อสาร • การเก็บรักษาบรรจุภัณฑ์
3.
วัตถุประสงค์ของบทเรียน • นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์อย่างมี ประสิทธิภาพ • นักศึกษามีทราบถึงวิธีการเก็บรักษาบรรจุภัณฑ์อย่างเหมาะสม
4.
บรรจุภัณฑ์กับประสิทธิภาพการเคลื่อนย้าย • ในระบบซัพพลายเชนผลิตภัณฑ์มีการเคลื่อนย้ายตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึง ผู้บริโภค การเคลื่อนย้าย
ประกอบด้วย การขนส่งและการขนย้าย ซึ่งมีในทุก ขั้นซัพพลายเชน และแต่ละขั้นมีการขนย้ายหลายครั้ง ต้นทุนขนย้ายเป็นเรื่อง ที่บางบริษัทไม่ได้ตระหนักถึงทั้งที่มีความสาคัญกับต้นทุนรวมโลจิสติกส์ และนอกจากนี้การขนย้ายยังเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพซัพพลายเชนด้านเวลา และการบริการลูกค้า • บรรจุภัณฑ์ต้องเคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก เช่น ถ้าใส่ในกล่องต้องเป็นกล่อง (ที่มีหูหิ้วหรือช่องสาหรับสอดมือหรือจับยกได้สะดวก น้าหนักของบรรจุ ภัณฑ์ต้องไม่หนักมากจนเกินไปจนทาให้ยกหรือขนย้ายไม่สะดวก)
5.
บรรจุภัณฑ์กับประสิทธิภาพการเคลื่อนย้าย • อรรถประโยชน์บรรจุภัณฑ์ (packaging
utility) หมายถึง บรรจุภัณฑ์ที่ให้ ความพึงพอใจกับผู้เกี่ยวข้องในด้านประสิทธิภาพและการบริการลูกค้า บรรจุภัณฑ์ ที่มีประสิทธิภาพจะลดต้นทุนกิจกรรมโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ขณะเดียวกัน บรรจุภัณฑ์ยังสะดวกกับลูกค้า ทั้งระดับร้านค้าปลีกและผู้บริโภค
6.
บรรจุภัณฑ์กับประสิทธิภาพการเคลื่อนย้าย • หลักปฏิบัติการโลจิสติกส์ คือ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (productivity) บรรจุภัณฑ์มีผลต่อประสิทธิภาพและผลิตผล ตั้งแต่ การขนย้ายสินค้าจากโรงงานไปเก็บในคลังสินค้า การหยิบและการขึ้น รถบรรทุก การขนส่งและส่งมอบสินค้าให้ลูกค้า ผลิตภาพแรงงานในแต่ ละขั้นขึ้นอยู่กับขนาดบรรจุภัณฑ์ วัสดุบรรจุภัณฑ์ น้าหนักบรรจุภัณฑ์ และการรวมหน่วยบรรจุภัณฑ์ คุณลักษณะที่มีผลต่อประสิทธิภาพการ เคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การรวมหน่วย สินค้า และการสื่อสาร
7.
บรรจุภัณฑ์กับประสิทธิภาพการเคลื่อนย้าย บรรจุภัณฑ์กับประสิทธิภาพการเคลื่อนย้ายขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Package
Design) 2. การใช้ประโยชน์ปริมาตรยานพาหนะ (Cube Utilization) 3. การรวมหน่วยสินค้า (Unitization) 4. ประโยชน์การรวมเป็นหน่วยบรรทุก (Benefits of Unit Loads) 5. วิธีรวมหน่วยสินค้า (Unitization Methods) 6. การสื่อสาร (Communication)
8.
1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Package Design) •
ยานพาหนะขนส่ง อุปกรณ์ขนส่งและคลังสินค้ามีข้อจากัดด้านปริมาตร คลังสินค้าออกแบบให้มีปริมาตรพื้นที่เป็นลูกบาศก์เมตรตามที่กาหนด ขณะที่ ยานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่งมีปริมาตรบรรทุกตามมาตรฐานหรือตาม กฎหมาย • สาหรับขีดความสามารถอุปกรณ์ขนย้ายถูกจากัดด้วยสภาพกายภาพและ มาตรฐานอุปกรณ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์จึงมีผลต่อประสิทธิภาพการ เคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ เช่น สินค้าบางชนิดในสภาพปกติมีปริมาตรมาก บาง ชนิดทาให้เข้มข้นได้ (Concentrating Product) บางชนิดแยกส่วน หรือยังไม่ประกอบเป็นสินค้าสาเร็จรูป (Knock Down) • ดังนั้นการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมจะลดขนาดและปริมาตรบรรจุ ภัณฑ์ ซึ่งทาให้เคลื่อนย้ายได้คราวละปริมาณมาก
9.
ภาพตัวอย่างสินค้า Knock Down
10.
ภาพตัวอย่างสินค้า Concentrating Product •
น้าผลไม้ที่ผ่านกระบวนการ บรรจุใส่บรรจุภัณฑ์แบบ ขจัดอากาศ • ทาให้ปริมาณสินค้ามีขนาด พอดีกับบรรจุภัณฑ์ • ช่วยเพิ่มปริมาณในการ ขนส่งและเป็นการลดต้นทุน ในกระบวนการโลจิสติกส์
11.
2. การใช้ประโยชน์ปริมาตรยานพาหนะ (Cube Utilization) •
ยานพาหนะทุกชนิดมีปริมาตรตามการออกแบบและ/หรือตามกฎหมาย ขนาดบรรจุภัณฑ์มีนัยถึงการใช้ปริมาตรระวางยานพาหนะ บรรจุภัณฑ์ ขนาดใหญ่ใช้ปริมาตรพาหนะมาก การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีขนาด เล็กเท่าที่จาเป็นก็สามารถทาให้บรรทุกสินค้าได้มาก • การลดปริมาตรสินค้าสามารถทาได้ด้วยการลดขนาดบรรจุภัณฑ์ โดยทา ให้ผลิตภัณฑ์มีความเข้มข้นมากขึ้น เช่น น้าผลไม้ขจัดอากาศในบรรจุ ภัณฑ์หรือโดยจัดส่งสินค้าที่ยังไม่ประกอบ หรือโดยใช้วัสดุใส่ในบรรจุ ภัณฑ์ (Dunnage) มาเป็นโฟมฝักถั่ว (Foam Peanuts) ซึ่งจะ ลดขนาดบรรจุภัณฑ์ให้เล็กที่สุดได้
12.
ภาพตัวอย่าง Dunnage Air
Bag Foam Peanuts
13.
2. การใช้ประโยชน์ปริมาตรยานพาหนะ (ต่อ) (Cube
Utilization) • IKEA ผู้ค้าปลีกเฟอร์นิเจอร์มีแหล่งผลิตเฟอร์นิเจอร์อยู่ห่างไกลจากตลาด อย่างไรก็ตาม IKEA สามารถประสบความสาเร็จการแข่งขันโดยใช้กลยุทธ์ ลดปริมาตรบรรจุภัณฑ์ให้มีขนาดเล็กลง ด้วยการขนส่งเฟอร์นิเจอร์ที่ยังไม่ ประกอบ • บริษัท Hewlett Packard (HP) ส่ง พรินเตอร์จากสหรัฐอเมริกาไป ยุโรปทางเครื่องบินด้วยการลดปริมาตรบรรจุภัณฑ์ให้เล็กที่สุด โดยรวมหน่วย พรินเตอร์เป็น unit load แล้วห่อด้วย shrink-wraps และใช้วิธี เลื่อนการผลิตขั้นสุดท้าย นอกจากลดค่าขนส่งแล้วยังได้ประโยชน์ทางภาษี ศุลกากร เพราะมูลค่าเพิ่มส่วนหนึ่งเกิดขึ้นในประเทศผู้นาเข้า ซึ่งไม่มีภาระ ภาษีศุลกากร
14.
ภาพตัวอย่างสินค้า IKEA
15.
ภาพตัวอย่างบริษัท HP
16.
2. การใช้ประโยชน์ปริมาตรยานพาหนะ (ต่อ) (Cube
Utilization) • การทาให้มีปริมาตรน้อยที่สุด (cube minimization) มี ความสาคัญมากกับผลิตภัณฑ์น้าหนักเบา เช่น เฟอร์นิเจอร์ ยานพาหนะ บรรทุกสินค้าน้าหนักเบาจะใช้ปริมาตรเต็ม (cube out) แต่ยังมี น้าหนักบรรทุกเหลือ ขณะที่ผลิตภัณฑ์หนักก็จะใช้น้าหนักบรรทุกเต็มที่ (weigh out) แต่ปริมาตรบรรทุกเหลือ ผลคือ ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ปริมาตจรและน้าหนักเต็มที่ • น้าหนักรวมอาจลดได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ เช่น ออกแบบให้ใช้วัสดุลดลง หรือใช้ชิ้นส่วนและส่วนประกอบที่เป็น วัสดุน้าหนักเบา เช่น ขวดพลาสติก
17.
3. การรวมหน่วยสินค้า (Unitization) •
การรวมหน่วยผลิตภัณฑ์ให้เป็นหน่วยใหญ่ สินค้าแต่ละชิ้นห่อรวมกัน เป็น carton และหลาย cartons รวมกันเป็น master carton และหลาย master cartons รวมกันเป็น unitization หรือ containerization การรวมหน่วยสินค้าให้ ใหญ่ขึ้นด้วยวัตถุประสงค์ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการขนย้ายและขนส่ง ซึ่งจะลดต้นทุนและใช้เวลาปฏิบัติการลดลง Carton Master Carton containerization
18.
4. ประโยชน์การรวมเป็นหน่วยบรรทุก (Benefits of
Unit Loads) การรวมหน่วยบรรทุกได้ประโยชน์หลายประการ ดังนี้ 1. เวลาที่ใช้บรรทุกผลิตภัณฑ์ขึ้นยานพาหนะมีความเร็ว 2. เวลาที่ใช้ขนถ่ายสินค้าออกจากยานพาหนะใช้เวลาน้อย ซึ่งลดความคับคั่งที่ คลังสินค้า 3. การรวมผลิตภัณฑ์เป็นหน่วยบรรทุกที่เอื้อต่อการขนย้ายภายในคลังสินค้า 4. การรวมหน่วยสินค้าเป็นประโยชน์ในด้านการปฏิบัติการคลังสินค้า การนับ จานวนสินค้าขาเข้าก็ทาได้ง่าย โดยใช้bar code หรือ RFID 5. การจัดวางสินค้าในคลังรวดเร็วขึ้น 6. สินค้ารวมเป็นหน่วยบรรทุกมีความเสียหายระหว่างขนส่งลดลง
19.
5. วิธีรวมหน่วยสินค้า (Unitization Methods) วิธีรวมหน่วยสินค้า
ใช้อุปกรณ์ ประกอบด้วย A. คอนเทนเนอร์โลหะ (Rigid Containers) B. คอนเทนเนอร์ยืดหยุ่น (Flexible Containers)
20.
A. คอนเทนเนอร์โลหะ (Rigid
Containers) • คอนเทนเนอร์เป็นกล่องโลหะที่ใช้ทั่วไปในการขนส่งในประเทศและระหว่าง ประเทศทางเครื่องบินและทางเรือ คอนเทนเนอร์ใช้บรรจุสินค้าที่รวมหน่วย หรือเป็น Master Cartons คอนเทนเนอร์ปิดมิดชิด ช่วยปกป้องสินค้า และเอื้อต่อการขนย้าย ทาให้การขนส่งมีประสิทธิภาพ โดยมีประโยชน์ ดังนี้ 1. ทาให้การเคลื่อนย้ายวัสดุโดยรวมมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ลดความเสียหายสินค้าระหว่างการขนย้ายและขนส่ง รวมถึงการลักขโมย 3. ลดความไม่แข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ 4. เพิ่มการปกป้องสินค้าจากสภาวะแวดล้อมภายนอก 5. ใช้ได้หลายครั้ง จึงลดขยะและการทาลาย
21.
A. คอนเทนเนอร์โลหะ (Rigid
Containers) (ต่อ) • คอนเทนเนอร์ที่หมุนเวียนมาใช้(returnable containers) เช่น คอน เทนเนอร์ที่ใช้กับการขนส่งระหว่างประเทศมีอายุการใช้งานนาน จึง หมุนเวียนใช้ได้หลายครั้ง • สาหรับคอนเทนเนอร์เล็กที่หมุนเวียนใช้ในอุตสาหกรรม มีทั้งทาด้วยเหล็ก พลาสติก และ corrugated box เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ใช้ returnable pallet ระหว่างโรงงาน บริษัทเคมีภัณฑ์ใช้ถังเหล็ก • ปัจจุบันมีแนวโน้มในการใช้บรรจุภัณฑ์ที่หมุนเวียนใช้ได้ ข้อพิจารณาการ หมุนเวียนคอนเทนเนอร์มาใช้ คือจานวนวงจรจัดส่งและค่าขนส่งคอนเทน เนอร์เปล่ากลับ รวมทั้งการปรับปรุงให้การขนย้ายดีขึ้นและลดความเสียหาย สินค้า รวมทั้งต้นทุนในอนาคตในการติดตามและทาความสะอาด
22.
ภาพตัวอย่าง ถังเหล็กใส่สารเคมี Returnable Pallet corrugated box
23.
B. คอนเทนเนอร์หยุ่นตัว (Flexible
Containers) • คอนเทนเนอร์แบบนี้ไม่ได้ห่อหุ้มสินค้าโดยสมบูรณ์ อุปกรณ์ชนิดนี้ใช้เป็นอุปกรณ์การขน ย้ายผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แคร่รองสินค้า (pallet) หรือ slipsheet โดยที่ slipsheet มีขนาดและการใช้ประโยชน์เช่นเดียวกับ pallet มีลักษณะเป็นแผ่นเรียบวางบนพื้นทา ด้วยพลาสติกหรือกระดาษ (card board) การขนย้ายต้องใช้อุปกรณ์พิเศษ • Pallet มีหลายขนาด หากใช้กับขนาดบรรจุภัณฑ์มาตรฐาน ก็จะวางได้เต็มพื้นหน้า โดย Master Carton ขนาดเดียวกันหรือต่างขนาดวางผสมกันได้ และหากจัดเรียง อย่างเหมาะสมก็ใช้พื้นหน้า pallet ได้เต็มที่ การวางซ้อนกันหลายชั้นขึ้นอยู่กับความสูง ของ Master Carton วิธีจัดเรียงที่ใช้ ได้แก่ block, brick, row, และ pinwheel โดยที่ไม่มีผนัง ดังนั้น หากขนย้ายหรือขนส่งระยะทางไกลจึงต้องห่อด้วย พลาสติก หรือใช้เชือกผูก หรือใช้แผ่นเหล็กรัด รวมถึงวิธีการอื่นๆ ที่เหมาะสม
24.
ภาพตัวอย่าง Slipsheet
25.
รูปแบบการวางซ้อนกันของ Master Carton
4 รูปแบบ (Four Patterns to Tier Master Carton) Block Brick Row Pinwheel
26.
ภาพกรณีตัวอย่างการวางกล่องบรรจุภัณฑ์บนแท่นวางบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ทุเรียนทอดกรอบ 40x48 นิ้ว 40x48 นิ้ว
27.
คาอธิบาย: ภาพกรณีตัวอย่างการวางกล่องบรรจุภัณฑ์บนแท่นวาง บรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ทุเรียนทอดกรอบ ซึ่งเป็
นบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจาหน่าย เมื่อจะขนส่งคราวละมากๆจากที่หนึ่งไปยังที่อีกแห่งหนึ่งนั้น สามารถจะทาได้ด้วยการ บรรจุลงกล่องสี่ฝาครั้งละ 12 กล่อง หรือ 1 โหล(มาตรฐานการขนส่งในการจาหน่าย จะจัดส่งกันเป็ นโหล) การจัดเรียงกล่องบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจาหน่ายจะทา เป็น 2 แถวๆละ 6 กล่องต่อกล่องสี่ฝา 1 กล่อง และกล่องสี่ฝานี้จะสามารถวางบน แท่นวางมาตรฐานที่มีขนาด 40 X 48 นิ้วได้ครั้งละ 5 กล่อง ซึ่งเป็นรูปแบบการวาง บนแท่นวางที่กาหนดเป็นแบบไว้ ซึ่งในการวางแต่ละชั้นในลักษณะนี้นั้นจะวางให้ สลับกัน ทั้งนี้เพื่อการจับยึดในแต่ละชั้น ดังภาพในหน้าก่อนหน้านี้ ขนาดของกล่องมาตรฐานที่วางอยู่บนแท่นวางคือ ขนาด 14 X 20 นิ้ว
28.
6. การสื่อสาร (Communication) •
การสื่อสารในด้านการบรรจุภัณฑ์ คือ ความสามารถบรรจุภัณฑ์ที่จะให้ข้อมูล บ่งชี้ผลิตภัณฑ์ (Content Identification) การติดตามและการ แนะนาการขนย้าย • บทบาทการสื่อสารที่สาคัญ คือ ข้อมูลบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ต้องประกอบด้วยผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดบรรจุภัณฑ์จานวน UPC และการสื่อสาร เช่นการใช้RFID ความชัดเจนหรือมองเห็นได้เป็นข้อบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ที่ให้พนักงานคลังสินค้า เห็นได้แต่ไกล หรือเครื่องอิเลคทรอนิกส์อ่านได้ในระยะพอสมควรในทุก ทิศทาง สาหรับสินค้ามูลค่าสูงฉลากจะตัวเล็กเพื่อลดการโจรกรรม การสื่อสาร เหล่านี้จึงง่ายในการค้นหาติดตามและนับจานวน
29.
การเก็บรักษาบรรจุภัณฑ์ • ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ผลิตแล้ว
กว่าจะถึงมือผู้บริโภคจะถูกนาเก็บรักษาไว้ เป็นช่วงๆ ตั้งแต่การเก็บรักษารอการขายของผู้ผลิต หรืออยู่บนพาหนะที่ ใช้ในการขนส่ง รวมถึงถูกเก็บอยู่ที่คลังสินค้าของโรงงานที่จะนาไปใช้ ผลิต หรือไปพักอยุ่ที่พ่อค้าคนกลาง ทั้งพ่อค้าส่ง พ่อค้าปลีก • ดังนั้น วิธีการเก็บรักษาแต่ละที่ ระยะเวลาที่ต้องเก็บรักษา จึงเป็นปัจจัย สาคัญที่ต้องคานึงถึง อันเนื่องมาจากสินค้าหลายชนิดมีน้าหนัก เมื่อ นาไปวางเรียงซ้อนกันเพื่อประหยัดเนื้อที่ บรรจุภัณฑ์อาจไม่แข็งแรงพอ จึงทาให้แตก ฉีกขาดและยังสร้างความเสียหายแก่สินค้าภายในได้
30.
การเก็บรักษาบรรจุภัณฑ์ (ต่อ) • สภาพความชื้น
อุณหภูมิของสถานที่เก็บมีอันตรายแก่สินค้าได้ เช่น มัน สาปะหลังที่เก็บทับไว้นานๆ จะเกิดความร้อนขึ้นได้ และเมื่อมีอากาศ ร้อนเพิ่มเข้าไปด้วย อาจจะลุกเป็นไฟไหม้ได้หรือสภาพที่ชื้นมากอาจทา ให้สินค้าเปียกชื้นเสียหายได้เช่น พวกวัสดุเคมีต่างๆ • ดังนั้นการเลือกบรรจุภัณฑ์จึงต้องพิจารณา วิธีการด้านการเก็บรักษา สภาพของสถานที่เก็บรักษา รวมทั้งวิธีการเคลื่อนย้ายในสถานที่เก็บ รักษาด้วย
31.
ภาพเหตุการณ์ไฟไหม้โกดังจานามันสาปะหลัง จ.สระแก้ว
Download