ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
DzԲٰܳپใหม่
1. นางสาวดาริกา      รูปดี       รหัสนักศึกษา 53181400110
2. นางสาวปาริฉัตร   ด้วงบุญมา    รหัสนักศึกษา 53181400124
3. นางสาวภานุมาศ    ปันสุภะ      รหัสนักศึกษา 53181400130
4. นายสถปัตย์        เครือวงค์   รหัสนักศึกษา 53181400140
5. นางสาวสุพัตรา     ปานาม       รหัสนักศึกษา 53181400143

             สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
ความหมาย

    ข้อจากัด                               องค์ประกอบ

                                                   การเรียนรู้
ข้อดี                Constructivism
                                                 บทบาทของครู

       ขั้นตอนการ
                              บทบาทของผู้เรียน
  จัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบสร้างความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivism) เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้สอนจัด
สถานการณ์ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่ของ
ตนเอง โดยให้ผู้เรียนได้ศึกษา คิด ค้นคว้า ทดลอง
ระดมสมอง ศึกษาจากใบความรู้ สื่อ หรือ แหล่ง
เรียนรู้ต่างๆ ซึ่งจะมีการเชื่อมโยงความรู้ใหม่ที่เกิด
ขึ้นกับความรู้เดิมที่ผู้เรียนมีอยู่แล้ว
1. การเชื่อมต่อความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

2. โครงสร้างของแนวคิด (ความรู) ที่สร้างขึ้นใหม่
                             ้

3. การตรวจสอบความรู้ใหม่

4. การนาแนวคิด (ความรู) ใหม่ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ
                      ้
DzԲٰܳپใหม่
DzԲٰܳپใหม่
DzԲٰܳپใหม่
เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะรับรู้ถึงจุดมุ่งหมาย
 ขั้นนา (Orientation)
                            และมีแรงจูงใจในการเรียนบทเรียน



 ขั้นทบทวนความรู้เดิม       เป็นขั้นที่ผู้เรียนแสดงออกถึงความรู้
(elicitation of the prior   ความเข้าใจเดิมที่มีอยู่เกี่ยวกับเรื่องที่จะ
       knowledge)           เรียน
ขั้นปรับ๶ปลี่ยนความคิด                  นับเป็นขั้นตอนที่สาคัญหรือเป็นหัวใจ
   (turning restructuring                  สาคัญตามแนว Constructivism ขั้นนี้
           of ideas)                       ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ดังนี้

             ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันและกัน (clarification and
exchange of ideas) ผู้เรียนจะเข้าใจได้ดีขึ้น เมื่อได้พิจารณาความแตกต่างและความขัดแย้ง
ระหว่างความคิดของตนเองกับของคนอื่น
             การสร้างความคิดใหม่ (Construction of new ideas) จากการอภิปรายและการสาธิต
ผู้เรียนจะเห็นแนวทางแบบวิธีการที่หลากหลายในการตีความปรากฏการณ์ หรือเหตุการณ์
             ประเมินความคิดใหม่ (evaluation of the new ideas) โดยการทดลองหรือการคิด
อย่างลึกซึ้ง
ขั้นȨความคิึϹปใช้      เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีโอกาสใช้แนวคิด
(application of ideas)   หรือความรู้ความเข้าใจที่พัฒนาขึ้นมา
                         ใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ


                         เป็นขั้นตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้
                         ทบทวนว่า ความคิด ความเข้าใจของเขา
ขั้นทบทวน (review)       ได้เปลี่ยนไป โดยการเปรียบเทียบ
                         ความคิดเมื่อเริ่มต้นบทเรียนกับความคิด
                         ของเขาเมื่อสิ้นสุดบทเรียน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็น
ผู้ขยายความรู้ความคิดของตนเอง
ให้กว้างหรือลึกซึ้งด้วยตนเอง
โดยมีความรู้เดิมเป็นฐาน
สอดคล้องกับธรรมชาติการ
เรียนรู้ของมนุษย์ซึ่งมักตีความสิ่ง
ต่างๆ จากความรู้เดิม
ผู้สอนต้องมีทักษะในการ
กระตุ้นความคิด ความรู้เดิม การ
ช่วยเหลือต่อความรู้และการช่วยเหลือ
วินิจฉัยความรู้ ความคิดใหม่ที่ผู้เรียน
สร้างขึ้นให้มีความสมเหตุสมผล
สุวิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา. 21 วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อ
      พัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ภาพพิมพ์,2545.

http://www.edtechno.com/2009/index.php?option=com_docman&task
=doc_download&gid=66&Itemid=58

http://pirun.ku.ac.th/~g4786071/construc.htm

www.edtechno.com/2009/index.php?option=com
DzԲٰܳپใหม่

More Related Content

DzԲٰܳپใหม่